Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต
6.2 ระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต หัวใจ, vt,…
บทที่ 6 การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต
6.2 ระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
Hypertensive crisis
ความหมาย
Cardiovascular disease (CVD) หมายถึง โรคทางระบบหัวใจและหลอดเลือด ได้แก่ โรคหลอดเลือดสมอง โรคของหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี่ โรคหัวใจล้มเหลว โรคของหลอดเลือดแดงส่วนปลายที่มีอาการ รวมถึงการตรวจหลอดเลือดแล้วพบ Atheromatous plague และรวมถึง Atrial fibrillation
Hypertensive urgency คือ ภาวะความดันโลหิตสูงรุนแรงแต่ไม่มีอาการของอวัยวะเป้าหมายถูกทำลาย ไม่จำเป็นต้องรับการรักษาในหอผู้ป่วยหนัก
Target organ damage (TOD) หมายถึง ความผิดปกติที่เกิดแก่อวัยวะในร่างกายจากความดันโลหิตสูง ได้แก่ การแข็งตัวของหลอดเลือดแดง หัวใจห้องล่างซ้ายโต โรคของหลอดเลือดแดงส่วนปลายที่ยังไม่มีอาการ Hypertensive retinopathy ที่รุนแรงจะมี exudates หรือเลือดออก หรือ papilledema
Hypertensive emergency หมายถึง ภาวะความดันโลหิตสูงมากกว่า 180/120 มม.ปรอท ร่วมกับมีการทำลายของอวัยวะเป้าหมาย อาจมีอาการของ Acute MI, Stroke, และ Kidney failureภาวะนี้พบน้อยกว่า 1เปอร์เซ็นต์ของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง แต่เมื่อเกิดแล้วเสี่ยงต่อการเสียชีวิตสูง ค่าอื่นๆที่ใช้เรียก ได้แก่
hypertensive crisis หรือ malignant hypertension อาจเกิด ในผู้ป่วยที่ไม่มีประวัติเป็นความดันโลหิตสูงมาก่อน ซึ่งมีสาเหตุมาจาก acute kidney failure, intracerebralhemorrhage, pregnancy-inducedpheochromocytoma, drug-induced HT, และ medication-food interactions
Hypertensive crisis หรือ Hypertensive emergency หมายถึง ภาวะความดันโลหิตสูงอย่างเฉียบพลันสูงกว่า 180/120 มม.ปรอท และทำให้เกิดการทำลายของอวัยวะเป้าหมาย(target organ damage, TOD)
ความดันโลหิตสูง (Hypertension) หมายถึง ความดันโลหิตที่วัดจากสถานพยาบาล ที่มีค่าความดันโลหิตซิสโตลิก ตั้งแต่ 140 มิลลิเมตรปรอทและความดันโลหิตไดแอสโตลิกตั้งแต่ 90 มิลลิเมตรปรอท ในผู้ใหญ่อายุ 18 ปีขึ้นไป
สาเหตุ
- การหยุดยาลดความดันโลหิตทันที (Sudden withdrawal of antihypertensive medications)
- Acute or chronic renal disease
- Exacerbation of chronic hypertension
- การใช้ยาบางชนิดที่มีผลทำให้ความดันโลหิตสูง เช่น ยาคุมกำเนิด
ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์
-
การซักประวัติ
ซักประวัติการเป็นโรคประจำตัว ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง ความสม่ำเสมอในการรับประทานยา ผลข้างเคียงของยาที่ใช้ การสูบบุหรี่ ประวัติความดันโลหิตสูงที่เป็นในสมาชิกครอบครัว ความดันโลหิตสูงขณะ
ตั้งครรภ์ โรคอื่นๆ
สอบถามอาการของอวัยวะที่ถูกผลกระทบจากโรคความดันโลหิตสูง (target organ damage, TOD) ได้แก่ โรคหลอดเลือดสมอง จะมีอาการ ปวดศรีษะ (Headache) มองเห็นไม่ชัดหรือตามัวชั่วขณะ (blurred vision) ระดับความรู้สึกตัวผิดปกติ (change in level of
consciousness) หมดสติ(Coma)
-
-
-
-
การรักษา
ผู้ป่วย Hypertensive crisis ต้องให้การรักษาทันทีใน ICU และให้ยาลดความดันโลหิตชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดดำเป้าหมายเพื่อลดความดันโลหิตให้อยู่ในระดับที่ต้องการโดยป้องกันอวัยวะต่างๆไม่ให้ถูกทำลายมากขึ้น
ลดความดันโลหิตเฉลี่ย (mean arterial pressure) ลงจากระดับเดิม
20-30% ภายใน 2 ชั่วโมงแรกและ 160/100 มม.ปรอท ใน 2-6 ชั่วโมง เป้าหมายการรักษาจะเป็นการรักษาสาเหตุที่ทำให้เกิด Hypertensive crisis
กลุ่มยาที่ใช้รักษาให้ทางหลอดเลือดดำมีหลายกลุ่มการเลือกใช้ยาขึ้นอยู่กับอาการ ได้แก่กลุ่มยาที่มีใช้ในประเทศไทย เช่น sodium nitroprusside,nicardipine, nitroglycerin, labetalol ยา sodium nitroprusside เป็นต้น
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
-
เสี่ยงต่อเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนปลายไม่เพียงพอ (Risk for ineffective peripheral tissue perfusion)
วิตกกังวล (Anxiety related to threat to biologic, psychologic, or social integrity)
-
การพยาบาล
- การรักษาด้วย short-acting intravenous antihypertensive agents ได้แก่ sodium nitroprusside แพทย์จะเริ่มให้ขนาด 0.3-0.5 mcg/kg/min และเพิ่มครั้งละ 0.5 mcg/kg/minทุก 2-3 นาทีจนสามารถคุมความดันโลหิตไดขนาดยาสูงสุดให้ไม่เกิน 10 mcg/kg/min ผสมยาใน D5W และ NSS
- ช่วยเหลือผู้ป่วยในการทำกิจกรรม เช่นการจัดท่านอนให้สุขสบาย การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันต่างๆและจัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ เช่นปิดไฟหัวเตียง เพื่อส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
- ในระหว่างได้รับยา ประเมินและบันทึกการตอบสนองต่อยาโดยติดตามความดันโลหิตอย่างใกล้ชิดเพื่อป้องกันการลดลงของความดันโลหิตอย่างรวดเร็ว
- ให้ความรู้/ข้อมูลแก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของการรักษาเพื่อควบคุมความดันโลหิต และเหตุผลที่ต้องติดอุปกรณ์ที่ใช้เฝ้าระวังต่างๆ
- ในระยะเฉียบพลัน เฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิดเกี่ยวกับอาการและอาการแสดงของระบบต่างๆ ได้แก่ neurologic,cardiac, and renal systems
Cardiac dysrhythmias
Atrial fibrillation (AF) คือ ภาวะหัวใจห้องบนเต้นสั่นพริ้ว เกิดจากจุดปล่อยกระแสไฟฟ้า (ectopic focus) ใน atrium ส่งกระแสไฟฟ้าออกมาถี่และไม่สม่ำเสมอและไม่ประสานกัน ทำให้atrium บีบตัวแบบสั่นพริ้วและคลื่นไฟฟ้าไม่สามารถผ่านไปยัง ventricleได้ทั้งหมด ลักษณะ ECG ไม่สามารถบอก P wave ได้ชัดเจน
จังหวะไม่สม่าเสมอ QRS complexไม่เปลี่ยนแปลง อัตราการเต้นของ atrial มากกว่า 350 ครั้ง/นาที อัตราการเต้นของ ventricle ถ้าอัตราการเต้นของ ventricle 60-100 ครั้ง/นาที เรียกว่า controlled response ถ้าอัตราการเต้นของ ventricle มากกว่า100 ครั้ง/นาที เรียกว่า rapid ventricular response
ประเภทของ AF
- Paroxysmal AF หมายถึง AF ที่หายได้เองภายใน 7 วันโดยไม่ต้องใช้ยา หรือการช็อคไฟฟ้า (ElectricalCardioversion)
- Persistent AF หมายถึง AF ที่ไม่หายได้เองภายใน 7 วัน หรือหายได้ดัวยการรักษาด้วยยา หรือการช็อคไฟฟ้า
- Permanent AF หมายถึง AF ที่เป็นนานติดต่อกันกว่า 1 ปีโดยไม่เคยรักษาหรือเคยรักษาแต่ไม่หาย
- Recurrent AF หมายถึง AF ที่เกิดซ้ ามากกว่า 1 ครั้ง
- Lone AF หมายถึง AFที่เป็นในผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 60 ปี ที่ไม่มีความผิดปกติของหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง
สาเหตุ
พบบ่อยในผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจขาดเลือด โรคหัวใจรูห์มาติก ภาวะหัวใจล้มเหลว ความดันโลหิตสูง เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ ผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ (open heart surgery), hyperthyrodism
-
การพยาบาล
สิ่งที่ต้องคำนึง คือ อัตราการเต้นของ ventricle ถ้าเต้นเร็วเกินไปจะทำให้ ระยะเวลาการคลายตัวเพื่อรับเลือดของ ventricle (end-diastolic filling time)ลดลง ทำให้ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจในหนึ่งนาทีลดลง
ด้วย หรือถ้าอัตราการเต้นของ ventricle ช้าเกินไป ก็ทำให้ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจในหนึ่งนาทีลดลงเช่นกัน
ภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญคื
การเกิดลิ่มเลือด AF ทำให้เกิดเลือดแข็งตัวในหัวใจห้องบนซ้ายซึ่งมีโอกาสหลุดไปในกระแสเลือด ทำให้เกิดstroke เป็นอัมพาตหรืออัมพฤกษ์และทำให้เกิด pulmonary embolus เป้าหมายในการ รักษาคือ ควบคุมอัตราการเต้นของหัวใจ (rate control) และจังหวะ (rhythm control) ให้กลับไปสู่ sinus rhythm และให้ยา Anticoagulation เพื่อป้องกันการเกิดลิ่มเลือด (thromboembolism)
- ประเมินการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพและคลื่นไฟฟ้าหัวใจอย่างต่อเนื่อง
- สังเกตอาการและอาการแสดงของการเกิดลิ่มเลือดอุดตัน สมอง ปอด แขนและขา
- ดูแลให้ได้รับยาควบคุมการเต้นของหัวใจ เช่น digoxin, beta-blocker, calcium channel blockers,amiodarone
- ดูแลให้ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือดตามแผนการรักษาในผู้ป่วยที่มีข้อบ่งชี้ว่ามีลิ่มเลือดเกิดขึ้น
- เตรียมผู้ป่วยและอุปกรณ์ในการทำ Cardioversion เพื่อให้หัวใจกลับมาเต้นในจังหวะปกติ
- เตรียมผู้ป่วยในการจี้ด้วยคลื่นไฟฟ้าความถี่สูง (Radiofrequency Ablation) ในผู้ป่วยที่เป็น AF และไม่สามารถควบคุมด้วยยาได้
ประเภทของ VT แบ่งเป็น
- Nonsustained VT คือ VT ที่เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลาน้อยกว่า 30วินาที
- Sustained VT คือ VT ที่เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลานานกว่า 30วินาทีซึ่งมีผลท าให้ระบบไหลเวียนโลหิตในร่างกายลดลง
- Monomorphic VT คือ VT ที่ลักษณะของ QRS complex เป็นรูปแบบเดียว
- Polymorphic VT หรือ Torsade คือ VT ที่ลักษณะของ QRS complex เป็นรูปแบบเดียว
สาเหตุ
พบบ่อยในผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายบริเวณกว้าง (Myocardial infarction) โรคหัวใจรูห์มาติก (Rheumatic heart disease) ถูกไฟฟ้าดูด ภาวะโพแทสเซียมในเลือดดำ พิษจากยาดิจิทัลลิส (Digitalis toxicity) และ
กล้ามเนื้อหัวใจถูกกระตุ้นจากการตรวจสวนหัวใจ
-
การพยาบาล
- นำเครื่อง Defibrillator มาที่เตียงผู้ป่วยและรายงานแพทย์ทันทีและเปิดหลอดเลือดดำเพื่อให้ยาและสารน้ำ
- คลำชีพจร ประเมินสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว เจ็บหน้าอก ภาวะเขียว จ านวนปัสสาวะ เพื่อประเมินภาวะเลือดไปเลี้ยงสมอง และอวัยวะสำคัญลดลง
- ร่วมกับแพทย์ในการดูแลให้ได้รับยาและแก้ไขสาเหตุหัวใจเต้นผิดจังหวะ
- ในผู้ป่วยที่เกิด VT และคล าชีพจรได้ร่วมกับมีอาการของการไหลเวียนโลหิตในร่างกายลดลง ให้เตรียมผู้ป่วยในการทำ synchronized cardioversion
- ในผู้ป่วยที่เกิด VT และคล าชีพจรไม่ได้(Pulseless VT) ให้เตรียมเครื่อง Defibrillator เพื่อให้แพทย์ทำการช็อกไฟฟ้าหัวใจ ในระหว่างเตรียมเครื่องให้ท าการกดหน้าอกจนกว่าเครื่องจะพร้อมปล่อยกระแสไฟฟ้า
-
-
หัวใจล้มเหลว (Heart failure) เป็นกลุ่มอาการที่ประกอบด้วยอาการและอาการแสดงที่เกิดจากความผิดปกติของโครงสร้างหรือการทำงานของหัวใจ
-
-
-
การวินิจฉัย
1) การตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัย ภาพถ่ายรังสีทรวงอก (Chest X-ray, CXR)
เป็นการตรวจเพื่อยืนยันภาวะเลือดคั่งในปอด (Pulmonary congestion) ภาวะที่มีความผิดปกติของหัวใจและตรวจหาความผิดปกตที่อาจบ่งชี้ถึงโรคปอดที่เป็นสาเหตุของอาการเหนื่อย
-
3) การตรวจเลือด
- Complete blood count (CBC): เพื่อตรวจหาภาวะซีด ซึ่งอาจทำให้มีอาการเหนื่อยและอาจเป็นปัจจัยกระตุ้นให้ภาวะหัวใจล้มเหลวแย่ลง
- การทำงานของไต (Renal function): การตรวจ BUN, creatinine เพื่อประเมินการทำงานของไต ซึ่งการทำงานของไตที่ลดลงอาจทำ ให้เกิดภาวะน้ำเกินและมีอาการและอาการแสดงเหมือนภาวะหัวใจล้มเหลว
และอาจเป็นปัจจัยกระตุ้นให้ภาวะหัวใจล้มเหลวแย่ลง
- การตรวจการทำงานของตับ (Liver function test): ผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวอาจมีการทำงานของตับผิดปกติเนื่องจากมีการคั่งของเลือดในตับ (Hepatic congestion) และผู้ป่วยตับแข็ง (Cirrhosis) อาจมีอาการบวมละเหนื่อยง่าย
-
บทบาทพยาบาล
1) ผู้ป่วยอาการหัวใจล้มเหลวดีขึ้น (Improve symptoms, especially congestion and lowoutput symptoms)
-
-
-
การพยาบาล
- ชั่งนํ้าหนักผู้ป่วยทุกวันในเวลาเดิมคือ ตอนเช้าหลังถ่ายปัสสาวะเพื่อประเมินภาวะน้ำเกิน หากมีนํ้าหนักเพิ่มขึ้น 2 กิโลกรัมใน 1 วัน แสดงว่าขณะนั้นมีนํ้าเกินอยู่ในร่างกายประมาณ 2 ลิตร และประเมินอาการบวมบริเวณ แขน-ขา ก้นกบ และรอบกระบอกตา ซึ่งจะบ่งชี้ถึงภาวะนํ้าเกินจากการเสียหน้าที่ของไต
- จํากัดนํ้าในแต่ละวันตามแนวทางการรักษาโดยในรายที่ไม่รุนแรงให้ จํากัดประมาณ 800-1,000 ซีซี/วัน
- ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษาและมีการติดตามประเมินผลของยา
- ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถเผชิญกับความเจ็บป่วยด้วยภาวะหัวใจวายได้ดังนี้ประเมินความรู้สึกและปัญหาต่างๆของผู้ป่วยพร้อมทั้งซักถามความต้องการของผู้ป่วยโดยพยาบาลควรให้เวลาและตั้งใจรับฟังปัญหาอย่าง
ต่อเนื่องเพื่อทําให้ทราบและเข้าใจปัญหาที่แท้จริงของผู้ป่วย
- ประเมิน V/S ทุก 1 ชั่วโมง : ควรประเมินจนกว่าอาการจะปกติ - PR ที่เร็วบ่งบอกว่าต้องการออกซิเจนเพิ่มขึ้น และ CO จะลดลง - BP ต่ำบ่งบอกว่า CO น้อย Afterload มาก >>น้ำคั่งในปอดมากขึ้น - RR เร็ว หอบเหนื่อยบ่งบอกว่าออกซิเจนไม่เพียงพอ เเต่หากว่าหายใจช้าลงบ่งบอกว่าการหายใจล้มเหลว>>> ควรฟังเสียงปอดทั้งสองข้างเพื่อ ประเมินน้ำในปอดทุก 1-2 ชม. โดยจะได้เสียงรอบแกรบ (Crepitation)
- จัดท่านั่งศีรษะสูง 30-90 องศา (Fowler’s position) หรือนั่งฟุบบนโต๊ะข้างเตียง เพื่อช่วยลดปริมาตรือดที่ไหลกลับเข้าสู่หัวใจและช่วยให้ปอดขยายตัวได้ดีขึ้น ลดอาการเหนื่อยหอบ
- เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตในการควบคุมอาการของภาวะหัวใจวายได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานของหัวใจในการบีบเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆ ได้ดีขึ้น มีการคั่งของน้ำในร่างกายลดลง ดูแลให้ผู้ป่วยได้ Bed rest โดยช่วยเหลือทำกิจกรรมให้ผู้ป่วยในระยะที่ผู้ป่วยมีอาการเหนื่อย
Shock
Diagnosis of Shock ภาวะช็อก หมายถึง ภาวะที่เลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อต่างๆ ไม่เพียงพอ (Poor tissue perfusion) หากรักษาไม่ทันท่วงทีจะส่งผลให้อวัยวะต่างๆ ล้มเหลว (Organ failure) ตามมา
การแปลผลความดันโลหิต
- Systolic blood pressure (SBP) เป็นค่าความดันของหลอดเลือดขณะหัวใจบีบตัวบ่งบอกถึงSystolic function ถ้าค่า SBP สูง แสดงว่า Systolic function ดีถ้าค่า SBP ต่ำ แสดงว่า Systolic function ไม่
ดี
- Diastolic blood pressure (DBP) เป็นค่าความดันของหลอดเลือดขณะหัวใจคลายตัว บ่งบอกถึงDiastolic function หรือ afterloadเพราะเวลากล้ามเนื้อหัวใจคลายตัว ต้องสู้กับแรงต้านทานของหลอดเลือดส่วนปลาย(Systemic vascular resistance, SVR) ถ้าค่า DBP สูง แสดงว่า Afterload สูง ถ้าค่า DBP ต่ำ แสดงว่า Afterload ต่ำ
-
-
-
Supportive treatment
Breathing: ในผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะช็อกควรให้ออกซิเจนร่วมด้วย เพื่อเพิ่ม Oxygen delivery โดยอาจใช้Oxygen cannula, mask,mask, mask with bag ในกรณีที่มี Respiratory failure ให้พิจารณาใส่ท่อช่วยหายใจ ไม่ควรใช้ Non-invasive positive pressure ventilation เนืองจากพลศาสตร์การไหลเวียนเลือดไม่คงที่
(Hemodynamic instability)
-
-
Shock management
- การรักษาจำเพาะ (Specific treatment) สำหรับภาวะช็อกแต่ละประเภท
- การรักษาประคับประคอง (Supportive treatment)
-
-
-
ตำแหน่งของหลอดเลือดในการให้สารน้ำควรเลือกเส้นเลือดดำที่เป็น Peripheral vein มากกว่าการให้สารน้ำผ่านทาง Central venous
cathete
-
-
-
-
-
-
-
-