Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์ :!!: - Coggle Diagram
ภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์ :!!:
มดลูกปลิ้น (Uterine inversion)
ความหมาย
ภาวะที่มดลูกปลิ้นตลบเอาผนังด้านในออกมาอยู่ด้านนอกหรือโผล่ออกมาทางช่องคลอด
ชนิด
มดลูกปลิ้นแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete inversion) มดลูกปลิ้นโดยส่วนที่ปลิ้นยังไม่พ้นปากมดลูก
มดลูกปลิ้นแบบสมบูรณ์ (complete inversion) มดลูกปลิ ้นโดยส่วนที่ปลิ้นพ้นปากมดลูก
มดลูกปลิ้นแบบสมบูรณ์และเคลื่อนต่ำลงมานอกปากช่อง
คลอด (Prolapsed of inverted uterus)
สาเหตุ
มีพยาธิสภาพที่มดลูก
การทำคลอดรกไม่ถูกวิธี
รกเกาะแน่นแบบ Placenta accrete
สายสะดือสั้นจนดึงรั้ง
การเพิ่มแรงดันภายในช้องท้องอย่างรวดเร็วและรุนแรง
อาการและอาการแสดง
ยอดมดลูกเป็นแอ่งคล้ายปล่องภูเขาไฟ
ตรวจภายในจะคลำได้ก้อนเนื้อบริเวณปากมดลูกช่องคลอดหรือก้อนโผล่ออกมานอกช่องคลอด
จะมีอาการปวด ช็อก ตกเลือดทางช่องคลอดอย่างเฉียบพลัน และมีอาการปวดท้องอย่างรุนแรง
ในรายที่เรื้อรังผนังเยื่อบุมดลูกจะแห้ง และเป็นแผลทำให้เกิดตกขาว เลือดออกกะปริบกะปรอย อาจมีอาการปวดหลังถึงอุ้งเชิงกราน และถ่ายปัสสาวะขัดหรือรู้สึกถ่วงที่ช่องคลอด
การรักษา
ให้oxygen เป็น mask with bag 8-10 LPM
ให้สารน้ำเป็น RLS 120 cc/hr.
ดันมดลูกกลับเข้าในโพรงมดลูกภายใต้ยาระงับความรูู้สึก/ยาคลายกล้ามเนื้อ
เมื่อมดลูกกลับเข้าที่เดิมแล้วฉีด Methergin/Oxytocin ให้มดลูกหดรัดตัว
Manual replacement of uterine inversion
การพยาบาล
ป้องกันการเกิดมดลูกปลิ้น โดยทำคลอดอย่างระมัดระวังและถูกวิธี
ประเมินชนิดของมดลูกปลิ้นอย่างรวดเร็ว
การช่วยเหลือเพื่อป้องกันภาวะ shock เมื่อเกิดภาวะมดลูกปลิ้น
ประเมินความรู้สึกตัว
ให้สารน้ำ
Vital signs ทุก 5-15 นาที
ดูแลให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกเมื่อดันมดลูกกลับ
ถ้า manual reinversionไม่สำเร็จเตรียมผู้ป่วยเพื่อผ่าตัด
เตรียม CPR เมื่อเกิดภาวะ shock
ให้ทบทวนหาสาเหตุเพื่อวางแผนป้องกันการเกิดในผู้คลอดราย
ต่อๆไป
ภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด
ความหมาย
ภาวะที่มีน้ำคร่ำเข้าสู่กระแสเลือดของมารดาแล้วไปอุดกั้นบริเวณหลอดเลือดดำที่ปอด
สาเหตุ
ถุงน้ำคร่ำแตก
มีทางเปิดติดต่อกันของน้ำคร่ำกับเส้นเลือดดำมารดา
มดลูกมีการหดรัดตัว ทำให้เกิดความแตกต่างของแรงดันภายในมดลูกสูงพอที่จะดันให้น้ำคร่ำผ่านเข้าสู่กระแสเลือดดำของมารดา
อาการและอาการแสดง
ระยะที่ 1
ภาวะไหลเวียนโลหิตล้มเหลว(hemodynamiccollapse) หายใจลำบาก แน่นหน้าอก เขียวตามปลายมือปลายเท้า ใบหน้า และล าตัว เกิดขึ้นแบบทันทีทันใด หัวใจและปอดหยุดทำงาน
ระยะที่ 2
ภาวะเลือดไม่แข็งตัว(coagulopathy) มดลูกหดรัดตัวไม่ดี ตกเลือดหลังคลอดเกร็ดเลือดต่ำ ระยะเวลาการแข็งตัวของเลือดยาวนาน ภาวะ DIC และเสียชีวิตในที่สุด
ชนิด
ชนิดที่ 1 (type 1) ร่วมกับมีภาวะ DIC
ชนิดที่ 2 (type 2) ไม่มีภาวะ DIC ร่วมด้วย
การรักษา
ป้องกันและแก้ไขภาวะขาดออกซิเจน ด้วยการให้ออกซิเจน 100%
ป้องกันระบบการไหลเวียนโลหิต และระบบหายใจล้มเหลว
ป้องกันและแก้ไขภาวะเลือดแข็งตัวผิดปกติ และภาวะตกเลือด
ช่วยคลอดให้เร็วที่สุดเพื่อป้องกันอันตรายจากภาวะขาดออกซิเจนของทารก
การพยาบาล
ประเมินสภาพผู้คลอด/มารดาหลังคลอดอย่างใกล้ชิด
ตรวจเช็ค และเตรียมอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพให้พร้อม
ดูแลจัดท่า ตะแคงศีรษะ ให้ออกซิเจน 100% ยาสารละลายทางหลอดเลือดดำ และเลือด NPO และใส่สายยางสวนคาปัสสาวะไว้ เพื่อบันทึกปริมาณปัสสาวะที่แน่นอน
สื่อสารกับผู้ที่เกี่ยวข้อง และเตรียมช่วยคลอดอย่างเร่งด่วน
ประคับประคองด้านจิตใจของสามี ครอบครัวและญาติ ด้วยการให้ข้อมูล
การบันทึกการทางการพยาบาลที่ชัดเจน ระบุสภาพผู้ป่วย
การกู้ชีพในหญิงตั้งครรภ์
คำนึงถึงความปลอดภัยทั้งมารดาและทารกในครรภ์
หลักการที่สำคัญคือต้องให้การรักษาเพื่อให้มารดารอดชีวิตก่อนเสมอ
หลักการกู้ชีพในหญิงตั้งครรภ์
ให้ผู้ป่วยนอนตะแคงทับซ้าย ควรให้นอนในท่าตะแคงซ้ายเอียง 15 - 30 องศา
ดมออกซิเจนความเข้มข้น 100%
ให้น้ำเกลือทางเส้นเลือด
มองหาสาเหตุที่แก้ไขได้
อายุครรภ์ > 20 สัปดาห์ มักมีขนาดมดลูกใหญ่จนกระทั่งกด IVC และ aorta ทำให้ลดปริมาณเลือดไหลกลับสู่หัวใจและมีความดันเลือดตกในที่สุด
Airway and breathing
ระหว่างการช่วยหายใจด้วยการบีบ ambubag ควรทำการกดกระดูก cricoid (cricoid pressure) ไว้ตลอดเวลา เพื่อป้องกันการสูดสำลัก
Circulation
ตำแหน่งกดหน้าอกมักอยู่สูงกว่าตำแหน่งปกติขึ้นไปเล็กน้อย จากมดลูกโตมา บิดเบือนตำแหน่งวางมือเพื่อทำการกดหน้าอก
Defibrillation
ยังไม่มีหลักฐานว่า กระแสไฟจากเครื่องdefibrillatorในการทำช็อคไฟฟ้า เพื่อกู้ชีพแก้หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้นจะมีผลกระทบใดๆ ต่อทารกในครรภ์
ข้อควรระวังในการกู้ชีพในหญิงตั้งครรภ์
Airway ช่วยหายใจก่อน เพราะมีโอกาสสูดสำลักาหารเข้าปอดได้ง่าย
Breathing มีโอกาสเกิดภาวะขาดออกซิเจนได้ง่าย
Circulation การเพิ่มความดันเลือดด้วยการใช้ยาVasopressor agents เช่น epinephrine, vasopressin, และ dopamine มักทำให้ลดปริมาณเลือดไปสู่มดลูกได้
การตัดสินใจผ่าท้องทำคลอดฉุกเฉิน
พิจารณาอายุครรภ์
พิจารณาจากลักษณะของ cardiac arrest
พิจารณาความพร้อมของทีม