Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบหัวใจและการไหลเวียนเลือด, นางสาวอรณิชา ไชยชนะดวงดี 6001210255 Sec.B…
ระบบหัวใจและการไหลเวียนเลือด
Hypertensive crisis
สาเหตุ
Acute or Chronic renal disease
Exacerbation of chronic hypertension
การหยุดยาลดความดันโลหิตทันที
การใช้ยาบางชนิดที่มีผลทำให้ความดันโลหิตสูง
อาการ
ปวดศีรษะ
การมองเห็นผิดปกติ
สับสน
คลื่นไส้
อาเจียน
การพยาบาล
เฉียบพลัน
เฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิด
ประเมินการตอบสนองต่อยา
ช่วยเหลือผู้ป่วยในการทำกิจกรม
ให้ความรู้ ข้อมูลแก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับการรักษา
การรักษา
รักษาใน ICU ทันที
ให้ยาลดความดันโลหิต ชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดดำ
Cardiac dysrhythmia
VT: Ventricular tachycardia
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
Ventricle เป็นจุดกำเนิดการเต้นของหัวใจ
สาเหตุ
ถูกไฟฟ้าดูด
ภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ำ
กล้ามเนื้อหัวใจตาย
Digitalis toxicity
อาการ
ใจสั่น
เจ็บหน้าอก
ความดันต่ำ
หายใจลำบาก
หน้ามืด
หัวใจหยุดเต้น
VF: Ventricular fibrillation
สาเหตุ
Hypokalemia
Hyperkalamia
Hypoxia
Hypothermia
Hypovolemia
Tension pneumothorax
Cardiac tamponade
Toxins
อาการ
หมดสติ
ไม่มีชีพจร
รูม่านตาขยาย
การพยาบาล
ช็อกไฟฟ้าหัวใจทันที
กดหน้าอก นวดหัวใจ
ช่วยฟื้นคืนชีพ
AF: Atrial fibrillation
ภาวะที่หัวใจห้องบนเต้นสั่นพริ้ว
จุดปล่อยกระแสไฟฟ้าใน Atrium ส่งกระแสไฟฟ้าออกมาถี่และไม่สม่ำเสมอกัน
สาเหตุ
หัวใจขาดเลือด
ภาวะหัวใจล้มเหลว
ความดันโลหิตสูง
เยื่อหุ้มหัใจอักเสบ
อาการ
ใจสั่น
อ่อนเพลีย
เหนื่อยเวลาออกแรง
คลำชีพจรข้อมือได้เบา
การพยาบาล
ประเมินการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพ
สังเกตอาการและอาการแสดงของการเกิดลิ่มเลือดอุดตัน
ดูแลให้ได้รับยาควบคุมการเต้นของหัวใจ
Acute Heart failure
สาเหตุ
ความผิดปกติแต่กำเนิด
ความผิดปกติที่ลิ้นหัวใจ
ความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจ
ความผิดปกติของเยื่อหุ้มหัวใจ
ความผิดปกติของหลอดเลือดหัวใจ
อาการ
เหนื่อย
ขณะออกแรง
ขณะนอนราบ
อาการบวมบริเวณที่เป็นระยางส่วนล่างของร่างกาย
อ่อนเพลีย
แน่นท้อง ท้องอืด
การรักษา
ประเมินหาสาเหตุหรือปัจจัยกระตุ้น
ให้ยาขับปัสสาวะทางหลอดเลือดดำ
ชั่งน้ำหนักผู้ป่วยและวัดปริมาตร Intake และ Output
ติดตามค่าการทำงานของไต
พิจารณาให้ยาช่วยกระตุ้นหัวใจ
พิจารณาให้ยาขยายหลอดเลือด
ให้ Tolvaptan ในระยะเวลาอันสั้น
พิจารณาสวนหัวใจ เพื่อวัดความดันโลหิต
Shock
ประเภท
Low cardiac output
Cardiogenic shock
Obstructive shock
Hypovolemic shock
High cardiac output
Septic shock
Anaphylactic shock
Endocrinologic shock
Neurogenic shock
Drug and Toxin
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน
ดูแลส่งเสริมการไหลเวียน
ประเมินสัญญาณชีพ และ ออกซิเจน ทุก 15 นาที
Observe O2
มีไข้จากการติดเชื้อในกระแสเลือด
ลดไข้ และให้ผู้ป่วยมีความสุขสบาย โดยดูแลเช็ดตัวลดไข้
ประเมินภาวะไข้
อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยา Levophed
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
ตรวจวัดความดันโลหิตและอัตราการเต้นของหัวใจ
ประเมินผลความดันโลหิต
ผู้ป่วยและญาติมีความวิตกกังวล
บรรเทาความวิตกกังวลของผู้ป่วยและญาติ โดยให้การดูแลอย่างใกล้ชิด
ให้คำอธิบาย ตอบข้อคำถามเกี่ยวกับโรคและแผนการรักษา
ปริมาณเลือดออกจากหัวใจต่อนาทีต่ำลง
ดูแลให้ได้รับสารน้ำจนครบ
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ
ประเมินและบันทึกสัญญาณชีพ
บันทึกจำนวนปัสสาวะที่ออก
นางสาวอรณิชา ไชยชนะดวงดี 6001210255 Sec.B เลขที่ 11