Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5พรบ.สวัสดิภาพฯ, 5.2 - Coggle Diagram
บทที่ 5พรบ.สวัสดิภาพฯ
5.1
สุขภาพแห่งชาติ
สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาพ.ศ. ๒๕๕๐สํานักงาน
หมวด ๑สิทธิและหน้าที่ด้านสุขภาพ
มาตรา๕บุคคลมีสิทธิในการดํารงชีวิตในสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อ
มาตรา ๖ สุขภาพของหญิงในด้านสุขภาพทางเพศและสุขภาพของระบบเจริญพันธุ์ ซึ่งมีความจําเพาะ ซับซ้อนและมีอิทธิพลต่อสุขภาพหญิงตลอดช่วงชีวิต ต้องได้รับการสร้างเสริม และ คุ้มครองอย่างสอดคล้องและเหมาะสม
มาตรา ๗ ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลเป็นความลับส่วนบุคคลเปิดเผยในประการที่น่าจะทําให้บุคคลนั้นเสียหายไม่ได้
มาตรา๘ในการบริการสาธารณสุข บุคลากรด้านสาธารณสุขต้องแจ้งข้อมูลด้านสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการให้ผู้รับบริการทราบอย่างเพียงพอที่ผู้รับบริการจะใช้ประกอบการ
มาตรา ๙ ในกรณีที่ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุขประสงค์จะใช้ผู้รับบริการเป็น
ส่วนหนึ่งของการทดลองในงานวิจัย ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุขต้องแจ้งให้ผู้รับบริการทราบ
มาตรา ๑๐ เมื่อมีกรณีที่จะมีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนเกิดขึ้นต้องเปิดเผยข้อมูลนั้นและวิธีป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพให้
ประชาชนทราบและจัดหาข้อมูลให้โดยเร็ว
มาตรา ๑๑ บุคคลหรือคณะบุคคลมีสิทธิร้องขอให้มีการประเมินและมีสิทธิร่วมใน กระบวนการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพจากนโยบายสาธารณะ
มาตรา ๑๒ บุคคลมีสิทธิทําหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุข
หมวด ๒
คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๑๓ ให้มีคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติเรียกโดยย่อว่า “คสช. ”
มาตรา ๑๔ กรรมการตามมาตรา ๑๓ (๖) (๗) (๘) (๙) และ (๑๐) ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม
มาตรา ๑๕การเลือกกรรมการตามมาตรา ๑๓ (๖) ให้ดําเนินการ
มาตรา ๑๖ การเลือกกรรมการตามมาตรา๑๓ (๘) ให้เป็นไปตามวิธีการที่คณะกรรมการการประกอบโรคศิลปะตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบโรคศิลปะกําหนด
มาตรา ๑๗ การเลือกกรรมการตามมาตรา ๑๓ (๙) ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการสรรหาประกาศกําหนด
ในการกําหนดหลักเกณฑ์ตามวรรคหนึ่ง ให้คณะกรรมการสรรหาแยกกลุ่มของ
มาตรา ๑๘ การเลือกกรรมการตามมาตรา ๑๓ (๑๐) ให้คณะกรรมการสรรหาดําเนินการ
มาตรา ๑๙ ให้มีคณะกรรมการสรรหาคณะหนึ่ง ซึ่ง คสช. แต่งตั้ง
มาตรา ๒๐ ให้คณะกรรมการสรรหามีหน้าที่และอํานาจ
มาตรา๒๑กรรมการตามมาตรา
มาตรา ๒๒ นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระ กรรมการตามมาตรา ๑๓ (๖)พ้นจากตําแหน่งเมื่อพ้นจากตําแหน่งตามที่ระบุไว้ในมาตรา๑๕(๑)(๒)(๓)หรือ(๔)แล้วแต่กรณี
มาตรา ๒๓นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระกรรมการตามมาตรา ๑๓ (๖) (๗) (๘) (๙) และ (๑๐) พ้นจากตําแหน่ง
หมวด ๓ สํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๒๖ ให้จัดตั้งสํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติขึ้นเป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่เป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
มาตรา ๒๗ ให้สํานักงานมีหน้าที่และอํานาจ ดั
มาตรา๒๘รายได้ของสํานักงาน
มาตรา๒๙บรรดารายได้ของสํานักงานตามมาตรา
๒๘ไม่เป็นรายได้ที่ต้องนําส่ง
มาตรา ๓๐ การเก็บรักษาและการใช้จ่ายเงินของสํานักงานให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการบริหารกําหนด
มาตรา ๓๑ ให้มีเลขาธิการคนหนึ่งเป็นผู้รับผิดชอบการบริหารงานของสํานักงานขึ้น ตรงต่อคสช.มีหน้าที่ควบคุมดูแลโดยทั่วไปซึ่งงานของสํานักงานและเป็นผู้บังคับบัญชาพนักงาน
มาตรา ๓๒ ให้เลขาธิการมีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสี่ปีและอาจได้รับแต่งตั้ง
มาตรา ๓๓นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระแล้ว เลขาธิการพ้นจากตําแหน่ง เมื่อลาออก ถูกจำคุก
มาตรา๓๔เลขาธิการมีหน้าที่และอํานาจ
มาตรา ๓๕ เงินเดือนและประโยชน์ตอบแทนอื่นของเลขาธิการให้คณะ
กรรมการบริหารกําหนดตามหลักเกณฑ์ที่คณะรัฐมนตรีกําหนด
มาตรา ๓๖ ให้เลขาธิการเป็นผู้แทนของสํานักงานในกิจการของสํานักงานที่เกี่ยวข้องกับบุคคลภายนอก แต่เลขาธิการจะมอบหมายให้บุคคลใดปฏิบัติงานในเรื่องใดแทนตามระเบียบที่คณะกรรมการบริหารกําหนดก็ได้
มาตรา ๓๗ ให้คสช. แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร
มาตรา ๓๘ การดํารงตําแหน่ง การพ้นจากตําแหน่ง การประชุมและการปฏิบัติงาน
มาตรา ๓๙ คณะกรรมการบริหารมีหน้าที่และอํานาจ
หมวด ๔สมัชชาสุขภาพ
มาตรา ๔๑ ให้คสช. จัดให้มีสมัชชาสุขภาพแห่งชาติอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
มาตรา ๔๒ ในการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติให้คสช. แต่งตั้งคณะกรรมการ
มาตรา๔๓ให้คณะกรรมการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติสํานักงานคณะกรรมการมีหน้าที่ในการจัดการ ประชุมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติกําหนดวัน เวลาและสถานที่ในการประชุม
มาตรา ๔๔ ผู้ใดประสงค์จะเข้าร่วมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติในการประชุมครั้งใด ให้
สมัครลงทะเบียนสําหรับการประชุมครั้งนั้นต่อเจ้าหน้าที่ที่คณะกรรมการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา๔๕ในกรณีที่สมัชชาสุขภาพแห่งชาติมีข้อเสนอให้หน่วยงานของรัฐเสนอต่อ คสช
หมวด ๕ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๔๖ ให้คสชสํานักงานจัดทําธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติเพื่อใช้เป็นกรอบ
มาตรา ๔๗ ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติต้องสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ
มาตรา ๔๘ ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติและนโยบายและยุทธศาสตร์ ด้านสุขภาพตามมาตรา ๒๕ (๒)
หมวด ๖บทกําหนดโทษ
มาตรา ๔๙ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๗ หรือมาตรา ๙ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับความผิดตามมาตรานี้เป็นความผิดอันยอมความได้
มาตรา๕๐ให้โอนบรรดากิจการทรัพย์สิน สิทธิหนี้สินและเงินงบประมาณของ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขในส่วนของสํานักงานปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติไปเป็นของสํานักงาน
มาตรา ๕๑ ให้นําบรรดาข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ หรือคําสั่งที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานของสํานักงานปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติมาใช้บังคับกับการปฏิบัติงานของสํานักงาน
มาตรา ๕๒ ให้ถือว่าข้าราชการที่โอนมาตามมาตรา ๕๐ ออกจากราชการเพราะทางราชการเลิกหรือยุบตําแหน่งตามกฎหมายว่าด้วยบําเหน็จบํานาญข้าราชการหรือกฎหมายว่าด้วยกองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการ แล้วแต่กรณี
มาตรา ๕๓ ให้นําความในมาตรา ๕๒ มาใช้บังคับกับการออกจากราชการหรือออกจากงานของข้าราชการหรือลูกจ้างของส่วนราชการที่สํานักงานรับเข้าทํางานด้วยโดยอนุโลม
มาตรา๕๔ให้ผู้ปฏิบัติหน้าที่ผู้อํานวยการสํานักงานปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติอยู่
มาตรา ๕๕ ในวาระเริ่มแรก ให้นายกรัฐมนตรีเป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาตาม มาตรา ๑๙ ให้แล้วเสร็จภายในหกสิบวัน นับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ตามหลักเกณฑ์
หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พ.ศ. ๒๕๔๕
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.ให้ไว้ณ วันที่๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๕เป็นปีที่๕๗ ในรัชกาลปัจจุบัน
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติพ.ศ.๒๕๔๕”
มาตรา๒๑พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้
บริการสาธารณสุข
มาตรา๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการตามพระราชบัญญัติ
หมวด ๑สิทธิการรับบริการสาธารณสุข
มาตรา ๕ บุคคลทุกคนมีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐานและมี
ประสิทธิภาพตามที่กําหนดโดยพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๖ บุคคลใดประสงค์จะใช้สิทธิตามมาตรา ๕ ให้ยื่นคําขอลงทะเบียนต่อ สํานักงานหรือหน่วยงานที่สํานักงานกําหนด
มาตรา๗ บุคคลที่ได้ลงทะเบียนแล้ว
มาตรา ๘ ผู้ซึ่งมีสิทธิตามมาตรา ๕ ที่ยังไม่ได้ลงทะเบียนตามมาตรา ๖ อาจเข้ารับบริการครั้งแรกที่หน่วยบริการใดก็ได้และให้หน่วยบริการที่ให้บริการแก่บุคคลดังกล่าวจัดให้บุคคลนั้น
มาตรา ๙ ขอบเขตของสิทธิรับบริการสาธารณสุขของบุคคล
มาตรา ๑๐ ขอบเขตของสิทธิรับบริการสาธารณสุขของผู้มีสิทธิตามกฎหมายว่าด้วยประกันสังคมให้เป็นไปตามที่กําหนดในกฎหมายว่าด้วยประกันสังคม การขยายบริการสาธารณสุขตามพระราชบัญญัตินี้ไปยังผู้มีสิทธิตามกฎหมายว่าด้วยประกันสังคมให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการแ
มาตรา ๑๑ ในกรณีที่ลูกจ้างซึ่งมีสิทธิได้รับการรักษาพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทนผู้ใดใช้สิทธิรับบริการสาธารณสุขจากหน่วยบริการตามพระราชบัญญัตินี้เมื่อใดแล้วให้หน่วยบริการแจ้งการเข้ารับบริการนั้นต่อสํานักงานและให้สํานักงานมีสิทธิเรียกเก็บค่าใช้จ่าย
มาตรา ๑๒ ในกรณีที่ผู้ประสบภัยจากรถตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถผู้ใดใช้สิทธิรับบริการสาธารณสุขจากหน่วยบริการตามพระราชบัญญัติ
หมวด ๒คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๑๓ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการหลักประกัน
มาตรา ๑๔ กรรมการตามมาตรา ๑๓ จะดํารงตําแหน่งกรรมการตามมาตรา ๔๘
มาตรา๑๕กรรมการตามมาตรา๑๓ วรรคหนึ่ง(๓)(๔)(๕)และ(๖)มีวาระอยู่ใน ตําแหน่งคราวละสี่ปีและอาจได้รับเลือกหรือแต่งตั้งใหม่อีกได้แต่จะดํารงตําแหน่งเกินกว่าสองวาระ
ติดต่อกันไม่ได้
มาตรา ๑๖ นอกจากการพ้นตําแหน่งตามวาระตามมาตรา ๑๕ วรรคหนึ่งแล้วกรรมการตามมาตรา๑๓ วรรคหนึ่ง
มาตรา ๑๗ การประชุมคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง
มาตรา ๑๘ คณะกรรมการมีอํานาจหน้าที่
มาตรา ๑๙ ให้คณะกรรมการมีอํานาจหน้าที่ควบคุมดูแลสํานักงานให้ดําเนินกิจการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กําหนดไว้
มาตรา ๒๐ คณะกรรมการมีอํานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๒๑ ให้คณะกรรมการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการตรวจสอบขึ้นคณะหนึ่งมี อํานาจหน้าที่ตรวจสอบการบริหารเงินและการดําเนินงานของสํานักงาน เพื่อให้การดําเนินงานเป็นไป
มาตรา ๒๒ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ให้คณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการ แล้วแต่กรณีมีอํานาจขอให้หน่วยงานของรัฐหรือสั่งให้บุคคลใดที่เกี่ยวข้องมีหนังสือ ชี้แจงข้อเท็จจริง มาให้ถ้อยคําหรือส่งเอกสารหลักฐานเพื่อประกอบการพิจารณาได้
มาตรา๒๓ให้กรรมการและอนุกรรมการได้รับเบี้ยประชุมค่าใช้จ่ายในการเดินทางและค่าใช้จ่ายอื่นในการปฏิบัติหน้าที่ตามที่รัฐมนตรีกําหนด
หมวด ๓สํานักงานหลักประกนสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๒๔ ให้มีสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเป็นหน่วยงานของรัฐมี
มาตรา ๒๕ให้สํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติตั้งอยู่ที่กรุงเทพมหานคร หรือในเขตจังหวัดใกล้เคียง
มาตรา ๒๖ให้สํานักงานมีอํานาจหน้าที่
มาตรา๒๗ทรัพย์สินของสํานักงานไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี
มาตรา๒๘ บรรดาอสังหาริมทรัพย์ที่สํานักงานได้มาโดยมีผู้บริจาคให้
มาตรา ๒๙ ให้คณะกรรมการเสนอขอรับงบประมาณรายจ่ายประจําปีต่อ
มาตรา ๓๐ การเก็บรักษาและการใช้จ่ายเงินของสํานักงานให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนด
มาตรา ๓๑ ให้สํานักงานมีเลขาธิการเป็นผู้รับผิดชอบการบริหารกิจการของสํานักงานให้เป็นไปตามกฎหมาย
มาตรา ๓๒ เลขาธิการต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม
มาตรา ๓๓ เลขาธิการพ้นจากตําแหน่งเมื่อตาย ลาออก
มาตรา ๓๔ ให้เลขาธิการมีวาระอยู่ในตําแหน่งคราวละสี่ปีและอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้แต่จะดํารงตําแหน่งเกินสองวาระติดต่อกันไม่ได้
มาตรา ๓๕ให้เลขาธิการเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งเป็นผู้ดํารงตําแหน่งระดับสูง
มาตรา ๓๖เลขาธิการมีอํานาจหน้าที่
มาตรา ๓๗ ให้มีสํานักตรวจสอบขึ้นในสํานักงานทําหน้าที่เป็นสํานักงานเลขานุการของคณะอนุกรรมการตรวจสอบ
หมวด ๔กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๓๘ ให้จัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่งในสํานักงานหลักประกันสุขภาพ
มาตรา ๓๙ กองทุน
มาตรา๔๐การรับเงินการจ่ายเงินและการเก็บรักษาเงินกองทุน
มาตรา ๔๑ ให้คณะกรรมการกันเงินจํานวนไม่เกินร้อยละหนึ่งของเงินที่จะจ่ายให้
มาตรา ๔๒ ในกรณีที่ผู้รับบริการได้รับความเสียหายที่เกขึ้น
มาตรา ๔๓ ภายในสามเดือนนับแต่วันสิ้นปีงบประมาณตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ ให้คณะกรรมการเสนองบดุลและรายงานการรับจ่ายเงินของกองทุนในปีที่ล่วงมา
มาตรา ๔๕ ให้หน่วยบริการมีหน้าที
มาตรา ๔๖ หน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการตามมาตรา ๔๔ แลtหน่วยบริการที่รับการส่งต่อผู้รับบริการ
มาตรา ๔๗ เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้กับบุคคลในพื้นที่
หมวด ๖คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข
มาตรา ๔๘ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข”
มาตรา ๔๙ การดํารงตําแหน่ง วาระการดํารงตําแหน่ง การพ้นจากตําแหน่งและการประชุมของคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐาน
มาตรา ๕๐ คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานมีอํานาจหน้าที
มาตรา ๕๑ คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานมีอํานาจแต่งตั้ง
มาตรา ๕๒ ให้คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐาน
มาตรา ๕๓ ให้กรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานและอนุกรรมการได้รับค่าเบี้ยประชุม
หมวด ๗
พนักงานเจ้าหน้าที
มาตรา ๕๔ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี
มาตรา ๕๕ ในการปฏิบัติหน้าที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจําตัวแก่บุคคลซึ่งเกี่ยวข้อง
มาตรา ๕๖ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
หมวด ๘
การกํากับมาตรฐานหน่วยบริการ
มาตรา ๕๗ ในกรณีที่สํานักงานตรวจสอบพบว่าหน่วยบริการใดไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานการให้บริการสาธารณสุขที่กําหนด
มาตรา ๕๘ ในกรณีที่ผลการสอบสวนตามมาตรา ๕๗ ปรากฏว่าหน่วยบริการใดไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานที่กําหนด ให้คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานดําเนินการ
มาตรา ๕๙ ในกรณีที่ผู้รับบริการผู้ใดไม่ได้รับความสะดวกตามสมควรหรือตามสิทธิ
มาตรา ๖๐ ให้เลขาธิการรายงานต่อคณะกรรมการควบคุม
มาตรา ๖๑ ผู้ร้องเรียนหรือหน่วยบริการที่ได้รับคําสั่งจากคณะกรรมการควบคุม
มาตรา ๖๒ เมื่อคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์คําสั่งตามมาตรา ๖๑ ผ
หมวด ๙
บทกําหนดโทษ
มาตรา ๖๓ ผู้ใดฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามคําสั่งของคณะกรรมการ ค
มาตรา ๖๔ ผู้ใดขัดขวางหรือไม่อํานวยความสะดวกตามสมควรแก่พนักงาน
บทเฉพาะกาล
มาตรา ๖๕ ในวาระเริ่มแรก มิให้นําบทบัญญัติมาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘มาตรา ๑๑ และมาตรา ๑๒ มาใช้บังคับ
มาตรา ๖๖ ให้ตราพระราชกฤษฎีกาตามมาตรา ๙ และมาตรา ๑๐ ภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
มาตรา ๖๗ ให้กระทรวงสาธารณสุขดําเนินการให้มีการคัดเลือกและแต่งตั้ง
มาตรา ๖๘ ให้กระทรวงสาธารณสุขดําเนินการให้มีการคัดเลือกและแต่งตั้ง
กรรมการตามมาตรา ๔๘ (๒) (๓) (๔) (๕) (๖) (๗) (๘) และ (๙)
มาตรา ๖๙ ให้โอนกิจการ ทรัพย์สิน สิทธิหนี้และความรับผิด รวมทั้งเงิน
งบประมาณของกระทรวงสาธารณสุข
มาตรา ๗๐ ข้าราชการหรือลูกจ้างของส่วนราชการใดสมัครใจจะเปลี่ยนไปเป็นเจ้าหน้าที่หรือลูกจ้างของสํานักงาน
5.2