Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่13 การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยง - Coggle Diagram
บทที่13 การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยง
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
(Hyperbilirubinemia)
ภาวะตัวเหลืองจากสรีรภาวะ (Physiological jaundice)
ภาวะตัวเหลืองจากพยาธิภาวะ ( Pathological jaundice)
สาเหตุ
มีการสร้างบิลลิรูบินเพิ่มขึ้นมากกว่าปกติ จากภาวะต่างๆที่มีการทำลายเม็ดเลือดแดง
มีการดูดซึมของบิลิรูบินจากลำไส้มากขึ้น
มีการกำจัดบิลิรูบินได้น้อยลง
การรักษา
การส่องไฟ (phototherapy)
ภาวะแทรกซ้อน
Increases metabolic rate
• Increased water loss / dehydration
Diarrhea
Retinal damage
Bronze baby หรือ tanning
Disturb of mother-infant interaction
Thermodynamic unstable
non-specific erythrematous rash
การพยาบาล
ปิดตาทารกด้วยผ้าปิดตา (eyes patches) เพื่อป้องกันการกระคายเคืองของแสงต่อตา
ถอดเสื้อผ้าทารกออกและจัดให้ทารกอยู่ในท่านอนหงาย
ดูแลให้ทารกได้นอนอยู่บริเวณตรงกลางของแผงหลอดไฟ
บันทึกและรายงานการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพทุก 2-4 ชม.
สังเกตลักษณะอุจจาระ
ดูแลให้ทารกได้รับการตรวจเลือดหาระดับบิลิรูบินในเลือดอย่างน้อยทุก 12 ชม.
สังเกตภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับการส่องไฟรักษา ได้แก่ ภาวะขาดน้ำถ่ายเหลว ดูดนมไม่ดี มีผื่น
ที่ผิวหนัง หรือภาวะแทรกซ้อนที่ตา
การเปลี่ยนถ่ายเลือด (Exchange transfusion)
การพยาบาล
อธิบายให้บิดามารดาทราบ
เตรียมอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพให้พร้อม
ดูแลให้ร่างกายทารกอบอุ่น
ในขณะเปลี่ยนถ่ายเลือดต้องบันทึกปริมาณเลือดเข้า ออก ตรวจวัดสัญญาณชีพ
สังเกตภาวะแทรกซ้อน เช่น หัวใจวาย แคลเซียมในเลือดต่ำ น้ำตาลในเลือดต่ำ ตัวเย็น ติดเชื้อ
ภายหลังการเปลี่ยนถ่ายเลือดตรวจวัดสัญญาณชีพ ทุก 15 นาที ทุก 30 นาที จนกระทั่งคงที
ปัญหาน้ำตาลในเลือดต่ำ
น้ำตาลในพลาสมาต่ำกว่า 40 mg%
อาการแสดง
ซึม ไม่ดูดนม มีสะดุ้งผวา อาการสั่น ซีดหรือเขียว หยุดหายใจ ตัวอ่อนปวกเปียก อุณหภูมิกายต่ำ ชักกระตุก
สาเหตุ
• ไม่ได้รับกลูโคสจากมารดาอีกต่อไป
• glycogen ที่ตับสะสมไว้น้อยจึงสร้างกลูโคสได้จ้ากัด รวมทั้งการสร้างกลูโคส (glucogenesis) เองที่ตับทำได้น้อย
• มีภาวะเครียดทั้งขณะอยู่ในครรภ์ ขณะคลอดและหลังคลอด
การรักษา
ทารกครบกำหนดที่มีอาการ่วมกับระดับน้ำตาลน้อยกว่า 40 มก./ดล.ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด
ทารกไม่มีอาการ
แรกเกิด-อายุ 4 ชั่วโมง ให้นมภายใน 1 ชั่วโมงแรก ติดตามระดับน้ำตาลในเลือด 30 นาทีหลังให้นมมือแรกถ้าระดับน้ำตาลน้อยกว่า 25 มก/ดล. ให้นมและติดตามระดับน้ำตาลในเลือด 1 ชั่วโมง
อายุ 4-24 ชั่วโมง ให้นมทุก 2-3 ชั่วโมง ติดตามระดับน้ำตาลในเลือดก่อนมือนม ถ้าระดับน้ำตาลน้อยกว่า 35 มก/ดล. ให้นมและติดตามระดับน้ำตาลในเลือด 1 ชั่วโมง
การดูแล
กรณีทารกเสี่ยงต่อระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ จะต้องตรวจหาระดับน้ำตาล ภายใน 1-2 ชม.หลังคลอด และติดตามทุก 1-2 ชม.ใน 6-8 ชม.แรก
กรณีที่มีน้ำตาลในเลือดดต่ำ ตรวจติดตามทุก 30 นาที ในรายไม่แสดงอาการ ให้กินนมหรือสารละลายกลูโคส
ควบคุมอุณหภูมิห้องและดูแลให้ความอบอุ่นแก่ทารก
สังเกตอาการเปลี่ยนแปลง
ทารกคลอดก่อนกำหนด
สาเหตุ
อายุน้อยกว่า 16 ปีหรือมากกว่า 35 ปี
ครรภ์แฝด มารดาติดยาเสพติด
มารดามีภาวะแทรกซ้อน เช่น ความดันโลหิตสูง
มารดาป่วยเป็นโรคหัวใจ เบาหวาน ไต
ลักษณะของทารกเกิดก่อนกำหนด
น้ำหนักน้อย
ผิวหนังบางสีแดงและเหี่ยวย่น
ลายฝ่ามือฝ่าเท้ามีน้อยและเรียบ เล็บมือเล็บเท้าอ่อนนิ่มและสั้น
มีกล้ามเนื้อ และไขมันใต้ผิวหนัง (Subcutaneous fat) น้อย
หายใจไม่สม่ำเสมอ มีการกลั้นหายใจเป็นระยะ (Periodic breathing)
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อไม่ดี
เสียงร้องเบา และร้องน้อยกว่าทารกแรกเกิดครบกำหนด
หัวนมมีขนาดเล็ก หรือมองไม่เห็นหัวนม
ท้องป่อง เพราะกล้ามเนื้อหน้าท้องไม่แข็งแรง
การจำแนกประเภทของทารกแรกเกิด
ตามน้ำหนัก
Low birth weight infant (LBW infant) คือ ทารกที่มีน้ำหนักแรกเกิดต่ำกว่า 2,500 กรัม
Very low birth weight คือ น้ำหนักต่ำกว่า 1,500 กรัม
Extremely low birth weight (ELBW) คือน้ำหนักต่ำกว่า 1,000 กรัม
Normal birth weight infant (NBW infant) คือ ทารกที่มีน้ำหนักแรกเกิด 2,500 กรัม ถึงประมาณ 3,800 – 4,000 กรัม
ตามอายุครรภ์
ทารกเกิดก่อนกำหนด (Preterm infant) คือ ทารกแรกเกิดที่มีอายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์
ทารกแรกเกิดครบกำหนด (Term or mature infant) คือทารกแรกเกิดที่มีอายุครรภ์ มากกว่า 37 สัปดาห์ ถึง 41 สัปดาห์
ทารกแรกเกิดหลังกำหนด (Posterm infant) ทารกแรกเกิดที่มีอายุครรภ์มากกว่า 41 สัปดาห์
MAS
ภาวะตื่นตัวของทารกเมื่อ แรกเกิดเรียกว่า vigorous ได้จากการประเมินทารกโดย ทีมบุคลากรทางการแพทย์ที่ดูแลทารกแรกเกิดเมื่อ 10 - 15 วินาทีหลังเกิด
มีแรงหายใจด้วยตนเองได้ดี
มีกำลังกล้ามเนื้อดี
อัตราการเต้นของหัวใจมากกว่า 100 ครั้งต่อนาท
ความรุนแรง
อาการรุนแรงน้อย ทารกมีอาการหายใจเร็วระยะสั้นๆ เพียง24-72ชั่วโมงทำให้แรงดันลดลง และมีค่าความเป็นกรด-ด่างปกติ อาการมักหายไปใน 24-72ชั่วโมง
•อาการรุนแรงปานกลาง อาการหายใจเร็วมีความรุนแรงมากขึ้น มีการดึงรั้งของช่องซี่โครง และมีความรุนแรงสูงสุดเมื่ออายุ 24ชั่วโมง
• อาการรุนแรงมาก ทารกจะมีระบบหายใจล้มเหลวทันที หรือภายใน 2-3 ชั่วโมงหลังเกิด
การพยาบาล
เป้าหมายที่สำคัญเพื่อให้ทารกได้รับออกซิเจนเพียงพอ เฝ้าระวังการติดเชื้อ
การดูแลที่จำเป็นสำหรับทารก
การควบคุมและการป้องกันการติดเชื้อ
การควบคุมอุณหภูมิอย่างเหมาะสม
การช่วยการดูแลทางเดินหายใจและการรักษาระบบทางเดินหายใจอย่างเหมาะสม
ดูแลภาวะน้ำหนักตัวแรกเกิดลด
ประเมินการขับถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ
ประเมินการแหวะนมและการอาเจียน
เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน เช่น ภาวะตัวเหลือง
การดูแลทางโภชนาการ
การติดตามภาวะความผิดปกติที่อาจเกิดขึ นทั งระยะสั นและระยะยาว
ปัญหาที่พบได้ในทารกคลอดก่อนกำหนด
ปัญหาพัฒนาการล่าช้า
ส่งเสริมสายสัมพันธ์พ่อแม่ลูก
Eye to eye contact
Skin to skin contact
ปัญหาทางโภชนาการและการดูดกลืน
Hypoglycemia
NEC (Necrotizing Enterocolitis)
GER (Gastroesophageal Reflux)
ปัญหาเลือดอออกในช่องสมอง
IVH (Intraventricular Hemorrhage)
Hydrocephalus
ปัญหาเกี่ยวกับการควบคุมอุณหภูมิ
การวัดอุณหภูมิ
ทางทวารหนัก
ทารกเกิดก่อนกำหนด วัดนาน 3 นาที ลึก 2.5 ซม.
ทารกครบกำหนด วัดนาน 3 นาที ลึก 3.0 ซม.
ทางรักแร้
ทารกเกิดก่อนกำหนด วัดนาน 5 นาที
ทารกครบกำหนด วัดนาน 8 นาที
การดูแล
จัดให้อยู่ในที่อุณภูมิเหมาะสม (NTE) 32 - 34 องศาเซลเซียส
วัดอุณภูมิเด็ก Body temperature เด็ก 36.8-37.2 องศาเซลเซียส
ใช้ warmer, incubator หรือผ้าห่มห่อตัว
หลีกเลี่ยงอยู่ใกล้แอร์ พัดลม ระวัง “Cold stress”
การพยาบาลทารกที่ได้รับการรักษาในตู้อบ
ไม่เปิดตุ้อบโดยไม่จำเ้นให้การพยาบาลโดยสอดมือเข้าทางหน้าต่างตู้อบ
ป้องกันการสูญเสียความร้อนของร่างกายทารก 4 ทาง
ตรวจสอบอุณหภูมิร่างกายทุก 4 ชม. และปรับให้เหมาะสมกับสภาพของทารก
เช็ดทำความสะอาดตู้ทุกวัน
ผลกระทบ
การเพิ่มการเผาผลาญและภาวะกรด
น้ำตาลในเลือดต่้า (Hypoglycemia)
ภาวะขาดน้ำ (Dehydration)
น้ำหนักลด (Poor Weight Gain)
ภาวะลำไส้เน่า (NEC)
ภาวะหยุดหายใจ(Apnea)
ภาวะเลือดออก (Bleeding Disorder)
อัตราการตายเพิ่มขึ้น
Perinatal asphyxia
APGAR Score
No asphyxia คะแนน แอพการ์ 8 –10
Mild asphyxia คะแนนแอพการ์ 5 –7
Moderate asphyxia คะแนนแอพการ์3 – 4
Severe asphyxia คะแนนแอพการ์0-2
Respiratory Distress Syndrome
(RDS)
ภาวะหายใจลำบากเนื่องจากการขาดสารลดแรงตึงผิว (surfactant) ของถุงลม
การป้องกัน
มารดาที่มีความเสี่ยงจะคลอดก่อนกำหนดแต่ถุงน้ำคร่ำยังไม่แตก โดย เฉพาะอายุครรภ์ 24-34 สัปดาห์ ควรได้antenatal corticosteroids อย่างน้อย 24 ชั่วโมงก่อนคลอด
การป้องกันไม่ให้ทารกขาดออกซิเจนในระยะแรกเกิด
การรักษา
การให้ออกซิเจน ตามความต้องการของทารก
ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับออกซิเจน โดยการปรับลดความเข้มข้นและอัตราไหลของออกซิเจน
ให้สารลดแรงตึงผิวเพื่อทำให้ความยืดหยุ่นของปอดดีขึ้น
รักษาแบบประคับประคองตามอาการ
ให้ได้รับสารน้ำอย่างเพียงพอ
รักษาสมดุลน้ำ อิเลคโตรไลท์สมดุลกรด ด่างในเลือด
รักษาระดับฮีโมโกลบินในเลือดและความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
ให้ยาปฏิชีวนะในรายที่สงสัยว่ามีการติดเชื้อร่วมด้วย
ทารกบางรายอาจจำเป็นต้องปิด PDA ด้วย indomethacin หรือ ibuprofen
apnea of prematurity
หยุดหายใจนานกว่า 20 วินาที มี cyanosis
การดูแล
จัดท่านอนที่เหมาะสม ศีรษะสูง เงยคอเล็กน้อย
สังเกตอาการขาดออกซิเจน หายใจเร็ว เขียว ปีกจมูกบาน อก บุ๋ม (chest wall retraction) , ABG
suction เมื่อจำเป็น
ระวัง การสำลัก
ให้การพยาบาลทารกขณะใช้เครื่องช่วยหายใจ
Retinopathy of PrematurityRetinopathy(ROP)
การงอกผิดปกติของเส้นเลือด (neovascularization) บริเวณรอยต่อ
ระหว่างจอประสาทตาที่มีเลือดไปเลี่ยงและจอประสาทตา ที่ขาดเลือด
ปัญหาการติดเชื้อ
Necrotizing Enterocolitis
เป็นผลมาจากภาวะพร่องออกซิเเจน
การได้รับอาหารไม่เหมาะสม เร็วเกินไป
ลำไส้ขาดเลือดมาเลี้ยง
การย่อยและการดูดซึมไม่ดี
การพยาบาล
NPO
ห้ามวัดปรอททางทวารหนัก
แยกจากเด็กติดเชื้อ / แยกผู้ดูแล
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ให้การพยาบาลโดยยึดหลัก aseptic technique
เฝ้าระวังสังเกตภาวะติดเชื้อ เฝ้าระวังภาวะล้าไส้ทะลุ
ปัญหาระบบหัวใจ , เลือด
PDA (Patent Ductus Ateriosus) , Neonatal Jaundice หรือ Hyperbilirubinemia , Anemia
รักษา PDA โดยใช้ยา Indomethacin
รักษา PDA โดยใช้ยา ibuprofen