Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริการสุขภาพเชิงธุรกิจ (Busin in Health care services), image, image,…
การบริการสุขภาพเชิงธุรกิจ
(Busin in Health care services)
การบริการสุขภาพเชิงธุรกิจ
ผลิตภัณฑ์
หมายถึง สินค้าที่มองเห็น หรือบริการที่จับต้องไม่ได้แต่รับรู้ได้ สามารถสนองความพอใจของผู้บริโภค
ประเภท
ผลิตภัณฑ์เพื่ออุปโภค บริโภค
ผลิตภัณฑ์ที่เป็นบริการ เช่น กิจการธนาคาร,
กิจการโรงแรม, กิจกรรมโรงพยาบาล
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ธุรกิจด้านสุขภาพ
เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพโดยบุคลากรทางการแพทย์
ในโรงพยาบาล ตลอดจนหาที่พักสำหรับการดูแลสุขภาพ
Consumer Behavlors
สินค้าสาธารณะ (Public goods)
สินค้าที่สมาชิกในสังคมนั้น ๆ เป็นเจ้าของร่วมกัน
สินค้านั่นไม่สามารถถูกกีดกันได้
จากการบริโภคได้ (Nonexcludability)
สินค้าที่ทุกคนได้รับการบริโภค
ในจำนวนเท่า ๆ กัน(Non-rivalry)
คุณลักษณะของบริการสุขภาพ
ความไม่สามารถแยกการให้และ
รับบริการได้ (inseparability)
ความแปรปรวนของ
การให้บริการ(Variability)
ความไม่มีตัวตนที่สัมผัสได้ (intangibility)
ความไม่สามารถรอได้ (Preishabiltly)
การบริการ (Service)
คือ ผลที่เกิดจากกระบวนการหรือกิจกรรม
องค์กรบริการ
รายได้ส่วนใหญ่มาจากค่าบริการหรือธรรมเนียม
ต้องมีลูกค้ามาสัมผัสโดยตรงกับกิจกรรม
ให้บริการแก่ลูกค้าเป็นหลักใหญ่
วงจรบริการ
หน่วยวัดคุณภาพของการบริการ
ระดับความพึ่งพอใจของลูกค้า
ประทับใจ เมื่อบริการได้ตามที่คาดหวัง
ตื้นตันใจ ปิติ เมื่อได้เกิดที่คาดหวัง
พึ่งพอใจ เมื่อบริการเท่าความต้องการ
ปฏิกิริยาของลูกค้า
พึงพอใจ = จะกลับมาให้บริการอีก
ประทับใจ = จะบอกต่อ
ไม่พอใจ = ประมาณ 5%จะร้องเรียน
ตื้นตันใจ = จะเป็นพวกช่วยปกป้อง
วิธีการประเมินความพึงพอใจลูกค้า
ใช้การสัมภาษณ์ โดยตรง
ใช้การสังเกต การติดตาม
ใช้แบบสอบถาม
ใช้การประเมินทางอ้อมแบบต่าง ๆ
กลุ่มลูกค้า
ลูกค้าภายใน (internal Customer)
คือ บุคคลในองค์กรเดียวกันที่มารับ
ใช้บริการจากหน่วยงานภายในองค์กรตาม
ความเกี่ยวเนื่อง หมายถึงหน่วยงานนั่นเอง
ลูกค้าภายนอก (External Customer)
บุคคลที่มารับบริการจากองค์กร
บริการตามเงื่อนไขภารกิจที่กำหนด
ทฤษฎีสามไอ
เกี่ยวกับเจ้าหน้าที่ พนักงาน
Ignorance=ความละเลย
Intertion=ความจงใจ
Innocence=ความไม่รู้
STAFF ที่ดีมี 4 ปัจจัย KASH
K (Knowledgeable) มีความรู้
S (Skillful ) มีทักษะในการปฎิบัติงานบิรการ
H (Good Habit) พฤตืกรรมนิสัยที่ดี
A (Goog Attitude) มีทัศนคติที่ดี
การตลาด
ความสำคัญ
เศรษฐกิจ
ผลักดันให้เศรษฐกิจขยายตัว
ปัจจัยเร่งพัฒนาสินค้าเเละบริการ
องค์กรธุรกิจ
เกิดแลกเปลี่ยนสินค้า
สร้างผลกำไร
ผู้บริโภค
เกิดแลกเปลี่ยนสรรสินค้าที่มีคุณภาพ
เกิดการต่อรองสินค้า บริการ
เกิดกระจายสินค้า
แนวคิดหลักทางการตลาด
หมายถึง กระบวนการทางสังคม การจัดการที่ทำให้
บุคคลได้รับสิ่งที่ตอบสนองความจำเป็น ความต้องการ
โดยอาสัยสร้างผลิตภัณฑ์ที่มีคุรค่า นำไปแลกเปลี่ยนกับผู้อื่นได้
การจัดการด้านการตลาด
หมายถึงการวิเคราะห์ วางแผน ปฎิบัติงาน ควบคุมดำเนินงาน
การจัดการความสัมพันธ์ (Relationship Management)
การจัดการอุปสงค์
decreasing demand
increasing demand
ปรัชญาการจัด
การทางการตลาด
แนวความคิดมุ่งการขาย
(Selling concept)
แนวความคิดมุ่งการตลาด
(Marketing concept)
แนวความคิดมุ่งผลิตภัณฑ์
(Product concept)
แนวความคิดมุ่งการตลาดเพื่อสังคม
(Societal marketing concept)
แนวความคิดมุ่งการผลิต
(Production concept)
ส่วนประสมทางการตลาด
ราคา (Price)
ช่องทางการจำหน่าย (Place)
ผลิตภัณฑ์ (Product)
การส่งเสริมทางการตลาด (Promotion)
ลักษณะงานการตลาด
สร้างกำไรให้กับทุกกลุ่ม
สร้างกำไรทางการตลาด
สร้างความพึงพอใจให้ลูกค้า
สร้างลูกค้า
แนวคิด
ทางการตลาด
ศตวรรษที่ 21
กระแสโลกาพิวัฒน์
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจโลก
การเจริญเติบโตคทางการตลาดไม่แสวงกำไร
สมัยใหม่
ความสำเร็จของธุรกิจขึ้นอยู่
กับการทำความรู้จักลูกค้า
ความพึงพอใจของลูกค้า
การบอกต่อ
ความพึงพอใจ= บริการที่ได้รับต่อ
ความต้องการและความหวัง
นางสาว ศศิวิมล วุฒิเขตร์
รหัสนักศึกษา 623601071
ห้อง 1A เลขที่ 70