Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต, ดาวน์โหลด, Lead_II…
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
Hypertensive crisis
สาเหตุ
การหยุดยาลดความดันโลหิตทันที
Acute or chronic renal disease
Exacerbation of chronic hypertension
Exacerbation of chronic hypertension
อาการและอาการแสดง
อาการทางสมอง เรียกว่า hypertensive encephalopathy
กลุ่มอาการโรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน (Acute cardiovascular syndromes)
กล้ามเนื้อหัวใจตาย (Myocardial infarction)
เจ็บแน่นหน้าอกแบบเฉียบพลัน/แบบไม่คงที่ (Unstable angina)
น้าท่วมปอด (Pulmonary edema)
ภาวะเลือดเซาะในผนังหลอดเลือดเอออร์ต้า (Aortic dissection)
การซักประวัติ
โรคประจาตัว
ประวัติความดันโลหิตสูงในสมาชิกครอบครัว
การตรวจร่างกาย
วัดสัญญาณชีพ
น้าหนัก ส่วนสูง
ดัชนีมวลกาย
เส้นรอบเอว
ความผิดปกติที่เกิดจาก TOD
โรคหลอดเลือดสมอง
ตรวจจอประสาทตา
ตรวจ retina
Chest pain
ตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
ตรวจ CBC
ประเมินภาวะMAHA
12-lead ECG
ค่าการทำงานไต(eGFR)
chest X-ray
การรักษา
รักษาทันทีใน ICU
ลดความดันโลหิตเฉลี่ย (mean arterial pressure) ลงจากระดับเดิม 20-30% ภายใน 2 ชั่วโมงแรก และ 160/100 มม.ปรอท ใน 2 6 ชั่วโมง
ยาที่มีในโรงพยาบาล
vasodilator, adrenergic blocker
calcium channel blocker
angiotensin-converting enzyme inhibitor
sodium nitroprusside
sodium nitroprusside
nitroglycerin
ให้ยาลดความดันโลหิตชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดดำ
การพยาบาล
ในระยะเฉียบพลัน
Neurologic symptomss
confusion, stupor, seizures, coma, or stroke
Cardiac symptoms
aortic dissection, myocardial ischemia, or dysrhythmias.
renal systems
ในระหว่างได้รับยา
ประเมินและบันทึกการตอบสนองต่อยาโดยติดตามความดันโลหิต
ภาวะเลือดไปเลี้ยงสมองลดลง
ควรควบคุมความดันโลหิตให้ต่ากว่า 180/105 มม.ปรอทใน 24 ชั่วโมงแรก แต่ไม่เกินร้อยละ 15 ของค่าความดันโลหิตเริ่มต้น
การรักษาด้วย short-acting intravenous antihypertensive agents
sodium nitroprusside
ขนาดยาสูงสุดให้ไม่เกิน 10 mcg/kg/min ผสมยาใน D5W และ NSS
เก็บยาให้พ้นแสงและตลอดการให้ยาแก่ผู้ป่วย
ติดตามอาการไม่พึงประสงค์
excessive hypotension
หัวใจเต้นช้า
ภาวะกรด (acidosis)
หลอดเลือดดาอักเสบ (phlebitis)
cyanide toxicity
ช่วยเหลือผู้ป่วยในการทากิจกรรม
ให้ความรู้/ข้อมูลแก่ผู้ป่วย
Cardiac arrhythmias
Atrial fibrillation (AF)
อัตราการเต้นของ ventricle 60 100 ครั้ง/นาที เรียกว่า controlled response
อัตราการเต้นของ ventricle มากกว่า100 ครั้ง/นาที เรียกว่า rapid ventricular response
ประเภท
Paroxysmal AF
Persistent AF
Permanent AF
Recurrent AF
Lone AF
สาเหตุ
โรคหัวใจขาดเลือด โรคหัวใจรูห์มาติก ภาวะหัวใจล้มเหลว ความดันโลหิตสูง เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ ผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ (open heart surgery), hyperthyrodism
อาการและอาการแสดง
ใจสั่น อ่อนเพลีย เหนื่อยเวลาออกแรง คลาชีพจรที่ข้อมือได้เบา
การพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพและคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
สังเกตการเกิดลิ่มเลือดอุดตัน สมอง ปอด แขนและขา
ดูแลให้ได้รับยาควบคุมการเต้นของหัวใจ เช่น digoxin
ดูแลให้ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือดตามแผนการรักษา
เตรียมผู้ป่วยและอุปกรณ์ในการทา Cardioversion
Ventricular tachycardia (VT)
ventricle เต้นอัตราที่เร็วมากแต่สม่ำเสมอ 150 250 ครั้ง/นาที
ECG ไม่พบ P wave ลักษณะ QRS complex มีรูปร่างผิดปกติกว้างมากกว่า 0.12 วินาที
ประเภท
Nonsustained VT
Sustained VT
Monomorphic VT
Polymorphic VT
สาเหตุ
กล้ามเนื้อหัวใจตาย (Myocardial infarction)
โรคหัวใจรูห์มาติก (Rheumatic heart disease)
พิษจากยาดิจิทัลลิส (Digitalis toxicity)
ภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่า
การพยาบาล
คลาชีพจร ประเมินสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว เจ็บหน้าอก ภาวะเขียว จานวนปัสสาวะ
เปิดหลอดเลือดดาเพื่อให้ยาและสารน้ำ
ในกรณี คลำชีพจรได้ร่วมกับมีอาการของการไหลเวียนโลหิตในร่างกายลดลง ให้เตรียมการทำ synchronized cardioversion
ในกรณี และคลำชีพจรไม่ได้ (Pulseless VT) ให้เตรียมเครื่อง Defibrillator เพื่อให้แพทย์ทำการช็อกไฟฟ้าหัวใจ
ทา CPR ถ้าหัวใจหยุดเต้น
อาการและอาการแสดง
อาการเกิดทันที ใจสั่น ความดันโลหิตต่า หน้ามืด เจ็บหน้าอก หายใจลาบาก หัวใจหยุดเต้น
Ventricular fibrillation (VF)
ventricle เต้นรัวไม่เป็นจังหวะ ไม่สม่าเสมอ ลักษณะ ECG จะไม่มี P wave ไม่เห็นรูปร่างของ QRS complex
สาเหตุ
Hypovolemia
Hypoxia
acidosis
Hypokalemia
Hyperkalemia
Hypothermia
Tension pneumothorax
Cardiac tamponade
อาการและอาการแสดง
หมดสติ ไม่มีชีพจร รูม่านตาขยาย เนื่องจากหัวใจไม่สามารถสูบฉีดโลหิตออกมาได้ และเสียชีวิต
การพยาบาล
เตรียมเครื่งมือ อุปกรณ์และยาที่ใช้ในการช่วยฟื้นคืนชีพให้พร้อมและทา CPR ทันที
การช็อกไฟฟ้าหัวใจทันที และการกดหน้าอก
Acute Heart Failure (AHF)
ชนิดของหัวใจล้มเหลว
แบ่งตามเวลาการเกิดโรค
New onset: หัวใจล้มเหลวที่เกิดขึ้นครั้งแรก
Transient:หัวใจล้มเหลวที่มีอาการชั่วขณะ
Chronic: หัวใจล้มเหลวที่มีอาการเรื้อรัง
แบ่งตามการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ
Systolic heart failure หรือ (HFREF) : หัวใจล้มเหลวร่วมกับการบีบตัวของหัวใจห้องซ้ายล่าง (Left ventricle) ลดลง โดยค่า VEF ต่ำกว่าร้อยละ 40
Diastolic heart failure หรือHFPEF: หัวใจล้มเหลวร่วมกับการบีบตัวของหัวใจห้องล่างซ้ายปกติ โดยค่า LVEF มากกว่าร้อยละ 40-50
แบ่งตามอาการและอาการแสดงของหัวใจที่ผิดปกติ
Left sided-heart failure: หัวใจล้มเหลวจากปัญหาของหัวใจห้องล่างซ้าย หรือห้องบนซ้าย เช่น Orthopnea หรือ (PND)
Right sided-heart failure: หัวใจล้มเหลวจากปัญหาของหัวใจห้องล่างขวา (Right ventricle) หรือ ห้องบนขวา (Right atrium) เช่น อาการบวม ตับโต
แบ่งตามลักษณะของ Cardiac output
High-output heart failure:ภาวะที่หัวใจล้มเหลวจากที่ร่างกายต้องการปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจ (Cardiac output) มากกว่าปกติ
Low-output heart failure: ภาวะที่หัวใจบีบเลือดออกจากหัวใจได้ น้อยลง (Low cardiac output) จนเกิดภาวะหัวใจล้ม
ภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน (Acute heart failure)
ภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง (Chronic heart failure)
สาเหตุ
ความผิดปกติแต่กำเนิด (Congenital heart disease)
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจ (Valvular heart disease)
ความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจ (Myocardial disease)
ความผิดปกติของเยื่อหุ้มหัวใจ
ความผิดปกติของหลอดเลือดหัวใจ (coronary artery disease)
อาการและอาการแสดง
อาการเหนื่อย (Dyspnea)
อาการบวม เช่นเท้า ขา เป็นลักษณะบวม กดบุ๋ม
อ่อนเพลีย (Fatigue)
แน่นท้อง ท้องอืด อาจพบอาการคลื่นไส้เบื่ออาหารร่วมด้วย
อาการแสดงที่ตรวจพบบ่อย
หัวใจเต้นเร็ว (Tachycardia) หายใจเร็ว (Tachypnea)
เส้นเลือดดำ ที่คอโป่งพอง (Jugular vein distention)
หัวใจโต พบว่ามี Apex beat หรือ PMI เลื่อนไปทางรักแร้และลงล่าง
เสียงหัวใจผิดปกติ โดยพบเสียง S3 หรือ S4 gallop หรือ Cardiac murmur
เสียงปอดผิดปกติ (Lung crepitation) มีเสียงหายใจวี๊ด (Wheezing) และมีน้ำในเยื่อหุ้มปอด (Pleural effusion)
ตับโต (Hepatomegaly) หรือน้ำ ในช่องท้อง (Ascites)
บวมกดบุ๋ม (Pitting edema)
การวินิจฉัย
1) การตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัย ภาพถ่ายรังสีทรวงอก (Chest X-ray, CXR)
2) คลื่นไฟฟ้าหัวใจ (electrocardiography)
3) การตรวจเลือด
Complete blood count (CBC)
การทำงานของไต (Renal function): การตรวจ BUN, creatinine
การตรวจการทำงานของตับ (Liver function test)
4) การตรวจคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูงหัวใจ (Echocardiography)
แนวทางเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา
การประเมินหาสาเหตุหรือปัจจัยกระตุ้นภาวะหัวใจล้มเหลวและแก้ไขสาเหตุ
ให้ยาขับปัสสาวะทางหลอดเลือดดำชนิด Loop diuretic
เมื่อใช้ยาขับปัสสาวะทางหลอดเลือดดำชนิด Loop diuretic แล้วผู้ป่วยไม่ตอบสนอง
3.1 ประเมินผู้ป่วยใหม่
3.2 เพิ่มขนาดยาขับปัสสาวะทางหลอดเลือดดำชนิด Loop diuretic
3.3 เปลี่ยนการบริหารยาเป็นแบบ Continuous infusion
3.4 เพิ่มยาขับปัสสาวะที่ออกฤทธิ์แตกต่าง ได้แก่ Thiazide หรือ aldosterone antagonist
3.5 ให้ยากระตุ้นหัวใจทางหลอดเลือด (Intravenous inotrope)
3.6 เมื่อใช้แนวทางปฏิบัติข้างต้นแล้วไม่ได้ผลให้ Ultrafiltration
ชั่งน้ำหนักผู้ป่วยและวัดปริมาตร Intake และ output ทุกวัน วันละหนึ่งครั้ง
ควรติดตามค่าการทำงานของไต (BUN, creatinine)
พิจารณาให้ยาช่วยกระตุ้นหัวใจ (Intravenous inotropes) เช่น Dobutamine หรือ Milrinone
6.1 Cardiogenic shock
6.2 ความดันซิสโตลิกต่ำกว่า 85 มิลลิเมตรปรอท
6.3 มีหลักฐานของ End-organ hypoperfusion
6.4 ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาขับปัสสาวะชนิด Loop diuretic ทางหลอดเลือดดำ
6.5 ควรติดตามความดันโลหิตและคลื่นไฟฟ้าหัวใจขณะได้รับ Intravenous inotropes
ไม่ให้ยาช่วยกระตุ้นหัวใจ (Intravenous inotrope) ในผู้ป่วย Acute heart failure
พิจารณาใช้ยาขยายหลอดเลือด ได้แก่ Sodium nitroprusside หรือ Nitroglycerine ในกรณีที่มี Pulmonary edema และความดันซิสโตลิกมากกว่า 110 มิลลิเมตรปรอท
ให้ Tolvaptan (V2-receptor antagonist) ในระยะเวลาสั้น (ไม่เกิน 1-2 สัปดาห์)
พิจารณาการสวนหัวใจ
ความดันซิสโตลิกน้อยกว่า 85 มิลลิเมตรปรอท หรือไม่สามารถประเมิน Left ventricular filing pressure ได้ชัดเจน
ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยา(Intravenous inotropes, diuretics, และ vasodilators)
เพื่อประเมินภาวะ Pulmonary hypertension ก่อนการปลูกถ่ายหัวใจ
ให้ Oxygen supplement Oxygen saturationน้อยกว่าร้อยละ 90 หรือ pO2 น้อยกว่า 60 มิลลิเมตรปรอท
ไม่ให้ Oxygen supplement ในผู้ป่วย Acute heart failure
แนะนำ Noninvasive ventilation
พิจารณา Mechanical circulatory support device (MCSD)
การพยาบาล
ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของหัวใจ
จัดท่านั่งศีรษะสูง 30-90 องศา (Fowler’s position)
ประเมิน V/S ทุก 1 ชั่วโมง
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษาและมีการติดตามประเมินผลของยา
ยาดิจิทาลิส (Digitalis) ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจบีบตัวมากขึ้น
ยาโดปามีน (Dopamine) เป็นยากระตุ้นให้หัวใจบีบตัวแรงขึ้น
ยาไนโตรกลีเซอรีน (Nitroglycerine)ช่วยขยายหลอดเลือดดำและหลอดเลือดแดงบริเวณส่วนปลาย
ยากลุ่ม ACE inhibitor จะช่วยในการขยายหลอดเลือ
ยาขับปัสสาวะ เพื่อช่วยลดปริมาตรเลือดที่ไหลกลับเข้าสู่หัวใจ
จำกัดนํ้าในแต่ละวันตามแนวทางการรักษา
ชั่งนํ้าหนักผู้ป่วยทุกวันในเวลาเดิม
ภาวะช้อก (Shock)
แปลผลความดันโลหิต
Systolic blood pressure (SBP) เป็นค่าความดันของหลอดเลือดขณะหัวใจบีบตัว
ค่าความดันโลหิตเฉลี่ย
(Mean arterial pressure, MAP)
MAP = 1/3 SBP + 2/3 DBP
Diastolic blood pressure (DBP) เป็นค่าความดันของหลอดเลือดขณะหัวใจคลายตัว
ประเภท
Low cardiac output shock
Cardiac output ต่ำ , diastolic blood pressure สูง และ Pulse pressure แคบ
1) Hypovolemic shock
2) Cardiogenic shock
3) Obstructive shock
High cardiac output shock
cardiac output สูง , Diastolic blood pressure ต่ำและ Pulse pressure กว้าง
1) Septic shock
2) Anaphylactic shock
3) Endocrinologic shock
4) Neurogenic shock
5) Drug and toxin
Shock management
การรักษาจำเพาะ (Specific treatment)
การรักษาประคับประคอง (Supportive treatment)
Supportive treatment
Airway
เปิดทางเดินหายใจให้โล่ง
Breathing
ควรให้ออกซิเจนร่วมด้วย
Circulation
ให้สารน้ำหรือ Vasopressors / inotropes ตามสาเหตุของช็อกแต่ละประเภท
Fluid therapy
Hypovolemic shock
Right side cardiogenic shock
Obstructive shock
Distributive shock
ตำแหน่งของหลอดเลือดในการให้สารน้ำ
เลือกเส้นเลือดดำที่เป็น Peripheral vein
สะดวก
มีคุณสมบัติในการรับสารน้ำหรือเลือด (Venous capacitance) ได้ดี
ทำให้สารน้ำที่ไปถึงหัวใจใกล้เคียงกับ Core temperature
การให้สารน้ำCrystalloids
Normal saline
ข้อพึงระวัง
Volume overload
Hypernatremia
Hyperchlorermic metabolic acidosis
Ringer's lactate solution
ข้อควรระวัง
Volume overload
Lactic acidosis
Hyperkalemia
Hypercalcemia
การให้สารน้ำชนิด Colloids
ข้อระวัง
Anaphylactic / anaphylactoid reaction
Renal toxicity อาจทำให้เกิด Acute kidney injury
Coagulopathy/platelet dysfunction
การเลือกใช้ Vasoactive drug
Hypovolemic shockไม่ใช้ Vasoactive drugs
Cardiogenic shock
ความดันโลหิตยังต่ำอยู่ให้ใช้ Dopamine
Systolic BP ต่ำกว่า 70 มม. ปรอท อาจเลือก Norepinephrine
ความดันโลหิตขึ้นแล้ว อาจใช้ Dobutamine
Obstructive shock
ให้สารน้ำก่อน หากความดันโลหิตยังต่ำให้ใช้ Dopamine
ความดันโลหิตต่ำมาก เช่น Systolic BP ต่ำกว่า 70 มม. ปรอทอาจเลือก Norepinephrine
ความดันโลหิตขึ้นแล้ว อาจใช้ Dobutamine
Septic shock
ควรให้สารน้ำก่อน เมื่อความดันโลหิตยังไม่ขึ้น อาจให้ Dopamine หรือ Norepinephrine
Dopamine ข้อยกเว้นในผู้ป่วย Cardiac contractility และผู้ป่วยCardiac arrhythmia
Dobutamine ใช้เมื่อ CVP สูง และ Hematocrit ≥30% แต่ ScvO2 < 70%
Endocrinologic shock
ให้สารน้ำ
ให้ยาต้านธัยรอยด์ใน Thyroid storm
ความดันโลหิตยังต่ำ ให้ Norepinephrine
Anaphylactic shock
Epinephrine (Adrenaline)
Neurogenic shock
Dopamine