Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์, นางสาววรพรรณ …
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
วิวัฒนาการของกฎหมายวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
การประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ในประเทศไทยได้มีพัฒนาการมากกว่า100 ปี และมี กฎหมายที่มีความสัมพันธ์กันหลายฉบับ ซึ่งเดิมอยู่ในความควบคุมของแพทย์ ภายใต้ “พระราชบัญญัติ การแพทย์ พ.ศ. 2466” โดยในสมัยรัชกาลที่ 6 ได้มีการออกกฎหมายขึ้นควบคุมการให้บริการด้านการดูแล สุขภาพแก่ประชาชน
ความหมายและลักษณะของกฎหมายแพ่ง
กฎหมายแพ่ง
เป็นส่วนหนึ่งในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ปพพ.) ที่กำหนดสิทธิ หน้าที่ และ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
กฎหมายพาณิชย์
: เป็นกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการค้าขายหรือกิจการใดๆ ที่ได้กระทำในเรื่องหุ้นส่วน บริษัท ประกันภัย ตั๋วเงิน เป็นต้น
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
: เป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับวิธีการด าเนินพิจารณาพิพากษาคดีในกรณีที่ เกิดข้อพิพาทในทางแพ่งขึ้น เช่น วิธีฟ้อง ศาลที่ฟ้อง
นิติกรรม
นิติกรรม
: การกระทำของบุคคลด้วยใจสมัครและถูกต้องตามกฎหมาย มุ่งให้เกิดการ เปลี่ยนแปลง โอน สงวนหรือระงับสิทธิระหว่างบุคคล
องค์ประกอบของนิติกรรม
ผู้กระทำต้องแสดงออกในฐานะที่เป็นเอกชน
การกระทำโดยเจตนา
การแสดงเจตนาโดยชัดแจ้ง
การแสดงเจตนาโดยปริยาย
การกระทำที่ชอบด้วยกฎหมาย
ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวสิทธิ
ประเภทของนิติกรรม
นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามจำนวนคู่กรณี
นิติกรรมฝ่ายเดียว
พินัยกรรม
คำมั่นจะให้รางวัล
นิติกรรมหลายฝ่าย
สัญญา ใช้ทุนการศึกษา
สัญญาค้ำประกัน
นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามการมีผลของนิติกรรม
นิติกรรมที่มีผลขณะผู้แสดงเจตนายังมีชีวิต
การให้โดยเสน่หา
สัญญาการซื้อ ขาย
นิติกรรมที่มีผลขณะผู้แสดงเจตนาไม่มีชีวิต
พินัยกรรม
นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามค่าตอบแทน
นิติกรรมที่มีค่าตอบแทน
สัญญาจ้างงาน
สัญญาซื้อขาย
นิติกรรมที่ไม่มีค่าตอบแทน
การใหโ้ดยเสน่หา
สัญญายืมเงินโดยไม่มีดอกเบี้ย
ความสามารถของบุคคลในการให้การยินยอมรักษาพยาบาล
ความสามารถของบุคคล
: สภาพที่กฎหมายก าหนดขอบเขตให้บุคคลมีสิทธิหรือ ใช้สิทธิ ความสามารถของบุคคลเป็นสิ่งส าคัญต่อการพิจารณาความรับผิดทางกฎหมาย
บุคคล
: สามารถมีสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมาย ทั้งนี้กฎหมายไม่จำกัดเฉพาะมนุษย์เท่านั้น ที่เป็นบุคคล แต่รวมไปถึงสิ่งต่างๆ ที่กฎหมายบัญญัติรับรองการเป็นบุคคล
บุคคลธรรมดา
มนุษย์ที่มีชีวิตรอดภายหลังการคลอดจากครรภ์มารดา ในทาง กฎหมายกำหนดให้สภาพบุคคลเริ่มตั้งแต่เมื่อคลอดและอยู่รอดเป็นทารก และสิ้นสุดลงเมื่อตาย
นิติบุคคล
สิ่งซึ่งกฎหมายสมมติให้เป็นบุคคล เพื่อให้มีสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมายและภายในวัตถุประสงค์ที่จดทะเบียน
บุคคลบางประเภทที่กฎหมายจำกัดสิทธิในการทำนิติกรรม
ผู้เยาว์
คนไร้ความสามารถ
คนเสมือนไร้ความสามารถ
ลูกหนี้ที่ถูกศาลสั่งเป็นบุคคลล้มละลาย
สามีภริยา
สภาพบังคับทางแพ่ง
โมฆะกรรม :
ความเสียเปล่าของนิติกรรมที่กระทำตั้งแต่ต้น จึงไม่ก่อให้เกิดการ
เคลื่อนไหวสิทธิและหน้าที่ของคู่กรณีที่กระทำนิติกรรม
นิติกรรมที่มีวัตถุประสงค์ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย
นิติกรรมที่ไม่ได้ทำให้ถูกต้องตามแบบที่กฎหมายกำหนด
การแสดงเจตนาโดยสำคัญผิดในสาระสำคัญแห่งนิติกรรม
โมฆียกรรม
ความสามารถของบุคคล
การแสดงเจตนาโดยวิปริต
การแสดงเจตนาโดยสำคัญผิดในคุณสมบัติของบุคคลหรือทรัพย์สิน
การแสดงเจตนาโดยการฉ้อฉล
การแสดงเจตนาโดยการข่มขู่
การบังคับชำระหนี
การชดใช้ค่าเสียหายหรือค่าสินไหมทดแทน
ความเสียหายที่คำนวณราคาเป็นเงินได้
ความเสียหายที่ไม่อาจคำนวณราคาเป็นตัวเงินได
ความรับผิดทางแพ่งที่เกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
สัญญา
การกระทำของบุคคลตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป ที่แสดงเจตนาด้วยใจสมัครถูกต้องตรงกันที่
จะกระทำหรืองดเว้นการกระทำ และตกลงกันทุกข้อโดยไม่มีข้อสงสัย โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะก่อให้เกิดผล
ผูกพันโดยชอบตามกฎหมาย
ความรับผิดจากการละเมิด
การกระทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย
การกระทำโดยจงใจหรือประมาท
ทำให้บุคคลอื่นเสียหาย
บุคคลต้องร่วมรับผิดกับผู้กระทำ
นายจ้างต้องร่วมรับผิดกับลูกจ้างในผลแห่งการละเมิด
ตัวการต้องรับผิดชอบผลแห่งการละเมิดของตัวแทนที่ได้กระทำไปภายในของเขตอำนาจของตัวแทน
บิดามารดาของผู้เยาว์หรือผู้อนุบาลของผู้วิกลจริต
ครูบาอาจารย์นายจ้างหรือบุคคลอื่น
อายุความ
คือ ระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดให้บุคคลมีสิทธิเรียกร้องงค่าเสียหายภายในระยะเวลาที่
กฎหมายกำหนด ถ้าผู้เสียหายใช้สิทธินั้นร้องเรียนต่อศาลเกินระยะเวลาที่กำหนดศาลจะมีคำสั่งยกฟ้องได้เนื่องจากคดีขาดอายุความ
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่เกี่ยวข้อง
มาตรา ๑๕
สภาพบุคคลย่อมเริ่มแต่เมื่อคลอดแล้วอยู่รอดเป็นทารกและสิ้นสุดลงเมื่อตาย
มาตรา ๑๙
บุคคลย่อมพ้นจากภาวะผู้เยาว์และบรรลุนิติภาวะเมื่อมีอายุยี่สิบปีบริบูรณ
มาตรา ๒๐
ผู้เยาว์ย่อมบรรลุนิติภาวะเมื่อทำการสมรส
มาตรา ๒๑
ผู้เยาว์จะทำนิติกรรมใดๆ ต้องได้รับความยินยอมของผู้แทนโดยชอบธรรมก่อน
มาตรา ๒๒
ผู้เยาว์อาจทำการใด ๆ ได้ทั้งสิ้น หากเป็นเพียงเพื่อจะได้ไปซึ่งสิทธิอันใดอันหนึ่ง
มาตรา ๒๓
ผู้เยาว์อาจทำการใดๆ ได้ทั้งสิ้น ซึ่งเป็นการต้องทำเองเฉพาะตัว
มาตรา ๒๔
ผู้เยาว์อาจทำการใดๆ ได้ทั้งสิ้น ซึ่งเป็นการสมแก่ฐานานุรูปแห่งตนและเป็นการอัน
จำเป็นในการดำรงชีพตามสมควร
มาตรา ๒๕
ผู้เยาว์อาจทำพินัยกรรมได้เมื่ออายุสิบห้าปีบริบูรณ
มาตรา ๒๖
ถ้าผู้แทนโดยชอบธรรมอนุญาตให้ผู้เยาว์จำหน่ายทรัพย์สินเพื่อการอันใดอันหนึ่งอันได้ระบุไว้ ผู้เยาว์จะจำหน่ายทรัพย์สินนั้นเป็นประการใดภายในขอบของการที่ระบุไว้นั้นก็ทำได้ตามใจสมัคร
มาตรา ๒๗
ผู้แทนโดยชอบธรรมอาจให้ความยินยอมแก่ผู้เยาว์ในการประกอบธุรกิจทางการค้า
หรือธุรกิจอื่น
มาตรา ๒๘
บุคคลวิกลจริตผู้ใด ถ้าคู่สมรสก็ดี ร้องขอต่อศาลให้สั่งให้บุคคลวิกลจริตผู้นั้นเป็นคนไร้ความสามารถ ศาลจะสั่งให้บุคคลวิกลจริตผู้นั้นเป็นคนไร้ความสามารถก็ได้
มาตรา ๒๙
การใดๆ อันบุคคลซึ่งศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถได้กระทำลง การนั้นเป็นโมะียะ
มาตรา ๓๑
ถ้าเหตุที่ทำให้เป็นคนไร้ความสามารถได้สิ้นสุดไปแล้ว และเมื่อบุคคลผู้นั้นเองหรือบุคคลใดๆร้องขอต่อศาลก็ให้ศาลสั่งเพิกถอนคำสั่งที่ให้เป็นคนไร้ความสามารถนั้นคำสั่งของศาลตามมาตรานี้ ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
มาตรา ๓๒
บุคคลใดมีกายพิการหรือมีจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ เมื่อบุคคลตามที่ระบุไว้ในมาตรา ๒๘ ร้องขอต่อศาล ศาลจะสั่งให้บุคคลนั้นเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถก็ได้
มาตรา ๓๓
ในคดีที่มีการร้องขอให้ศาลสั่งให้บุคคลใดเป็นคนไร้ความสามารถเพราะวิกลจริตศาลอาจสั่งให้บุคคลนั้นเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถก็ได้
มาตรา ๓๔
คนเสมือนไร้ความสามารถนั้น ต้องได้รับความยินยอมของผู้พิทักษ์ก่อนแล้วจึงจะทำการอย่างหนึ่งอย่างใด
มาตรา ๓๖
ถ้าเหตุที่ศาลได้สั่งให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถได้สิ้นสุดไปแล้ว ให้นำบทบัญญัติมาตรา ๓๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๖๑
ถ้าบุคคลใดได้ไปจากภูมิล าเนาหรือถิ่นที่อยู่ และไม่มีใครรู้แน่ว่าบุคคลนั้นยังมีชีวิตอยู่
หรือไม่ตลอดระยะเวลาห้าปีเมื่อผู้มีส่วนได้เสียหรือพนักงานอัยการร้องขอ ศาลจะสั่งให้บุคคลนั้นเป็นคน
สาปสูญก็ได้
มาตรา ๖๒
บุคคลซึ่งศาลได้มีคำสั่งให้เป็นคนสาบสูญ ให้ถือว่าถึงแก่ความตายเมื่อครบกำหนดระยะเวลาดังที่ระบุไว้ในมาตรา ๖๑
มาตรา ๖๓
เมื่อบุคคลผู้ถูกศาลสั่งให้เป็นคนสาบสูญนั้นเองหรือผู้มีส่วนได้เสียหรือพนักงาน
อัยการร้องขอต่อศาล และพิสูจน์ได้ว่าบุคคลผู้ถูกศาลสั่งให้เป็นคนสาบสูญนั้นยังคงมีชีวิตอยู่ก็ดี ให้ศาลสั่งถอนคำสั่งให้เป็นคนสาบสูญนั้น
มาตรา ๖๔
คำสั่งศาลให้เป็นคนสาบสูญหรือคำสั่งถอนคำสั่งให้เป็นคนสาบสูญ ให้ประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษา
มาตรา ๖๕
นิติบุคคลจะมีขึ้นได้ก็แต่ด้วยอาศัยอำนาจแห่งประมวลกฎหมายนี้หรือกฎหมายอื่น
มาตรา ๖๖
นิติบุคคลย่อมมีสิทธิและหน้าที่ตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนี้หรือกฎหมายอื่น
ภายในขอบแห่งอำนาจหน้าที่หรือวัตถุประสงค์ดังได้บัญญัำหรือกำหนดไว้ในกฎหมาย
มาตรา ๘๓
สมาคมที่ได้จดทะเบียนแล้วเป็นนิติบุคคล
มาตรา ๑๒๒
มูลนิธิที่ได้จดทะเบียนแล้วเป็นนิติบุคคล
มาตรา ๑๔๙
นิติกรรม หมายความว่า การใดๆ อันทำลงโดยชอบด้วยกฎหมายและด้วยใจสมัคร
มุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคล เพื่อจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ
มาตรา ๑๕๐
การใดมีวัตถุประสงค์เป็นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย เป็นการพ้นวิสัยหรือ
เป็นการขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน การนั้นถือเป็นโมะะ
มาตรา ๑๕๑
การใดเป็นการแตกต่างกับบทบัญญัติของกฎหมาย ถ้ามิใช่กฎหมายอันเกี่ยวกับ
ความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน การนั้นไม่เป็นโมะะ
มาตรา ๑๕๒
การใดมิได้ทำให้ถูกต้องตามแบบที่กฎหมายบังคับไว้ การนั้นเป็นโมะะ
มาตรา ๑๕๓
การใดมิได้เป็นไปตามบทบัญญัติของกฎหมายว่าด้วยความสามารถของบุคคล การ
นั้นเป็นโมฆียะ
กฎหมายอาญาสำหรับพยาบาลและการกระทำความผิดที่พบบ่อย
ประเภทของความรับผิดทางอาญา
ความผิดต่อแผ่นดิน
ความผิดต่อส่วนตัว
ลักษณะสำคัญของความรับผิดทางอาญา
ต้องมีบทบัญญัติความผิด และกำหนดโทษไว้โดยชัดแจ้ง
ต้องตีความเคร่งครัดตามตัวอักษร
ไม่มีผลย้อนหลังที่เป็นโทษ
หลักเกณฑ์ความรับผิดทางอาญา
การกระทำ
. กฎหมายบัญญัติว่าการกระทำนั้นเป็นความผิดและกำหนดโทษ
กระทำโดยเจตนา ประมาท หรือไม่เจตนา
เหตุยกเว้นความรับผิดทางอาญา
. อายุความ
โทษทางอาญา
โทษประหารชีวิต
. โทษจ าคุก
. โทษกักขัง
โทษปรับ
โทษริบทรัพย์สิน
ความรับผิดทางอาญาที่เกี่ยวกับการปฏิบัติการพยาบาล
ความประมาทในการประกอบวิชาชีพ
การทอดทิ้งหรือละเลยผู้ป่วย
การเปิดเผยความลับของผู้ป่วย
การปฏิเสธความช่วยเหลือผู้ที่ตกอยู่ในอันตรายต่อชีวิต
ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร: การปลอมเอกสารและการทำหรือรับรองเอกสารเท็จ
การทำให้หญิงแท้งลูก
ประมวลกฎหมายอาญาที่เกี่ยวข้อ
มาตรา ๒
บุคคลจักต้องรับโทษในทางอาญาต่อเมื่อได้กระทำการอันกฎหมายที่ใช้ในขณะกระทำ
นั้นบัญญัติเป็นความผิดและกำหนดโทษไว้ และโทษที่จะลงแก่ผู้กระทำความผิดนั้น
มาตรา ๑๘
โทษสำหรับลงแก่ผู้กระทำความผิด
มาตรา ๑๙
ผู้ใดต้องโทษประหารชีวิต ให้ดำเนินการด้วยวิธีฉีดยาหรือสารพิษให้ตาย
มาตรา ๒๓
ผู้ใดกระท าความผิดซึ่งมีโทษจำคุก และในคดีนั้นศาลจะลงโทษจำคุกไม่เกินสาม
เดือน
มาตรา ๒๘
ผู้ใดต้องโทษปรับ ผู้นั้นจะต้องช าระเงินตามจ านวนที่กำหนดไว้ในคำพิพากษาต่อศาล
มาตรา ๒๙
ผู้ใดต้องโทษปรับและไม่ช าระค่าปรับภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ศาลพิพากษา
ผู้นั้นจะต้องถูกยึดทรัพย์สินหรืออายัดสิทธิเรียกร้องในทรัพย์สินเพื่อใช้ค่าปรับ
มาตรา ๓๐
นการกักขังแทนค่าปรับ ให้ถืออัตราห้าร้อยบาทต่อหนึ่งวัน และไม่ว่าในกรณีความผิดกระทงเดียวหรือหลายกระทง ห้ามกักขังเกินกำหนดหนึ่งป
มาตรา ๓๐/๑
ในกรณีที่ศาลพิพากษาปรับ ผู้ต้องโทษปรับซึ่งมิใช่นิติบุคคลและไม่มีเงินชำระค่าปรับบอาจยื่นคำร้องต่อศาลชั้นต้นที่พิพากษาคดีเพื่อขอท างานบริการสังคมหรือทำงานสาธารณประโยชน์แทนค่าปรับ
มาตรา ๓๐/๒
ถ้าภายหลังศาลมีคำสั่งอนุญาตตามมาตรา ๓๐/๑ แล้ว ความปรากฏแก่ศาลเองหรือความปรากฏตามคำแถลงของโจทก์ ศาลจะเพิกถอนค าสั่ง
อนุญาตดังกล่าวและปรับ
มาตรา ๓๐/๓
คำสั่งศาลตามมาตรา ๓๐/๑ และมาตรา ๓๐/๒ ให้เป็นที่สุด
มาตรา ๓๒
ทรัพย์สินใดที่กฎหมายบัญญัติไว้ว่า ผู้ใดทำหรือมีไว้เป็นความผิด ให้ริบเสียทั้งสิ้น
ไม่ว่าเป็นของผู้กระทำความผิด และมีผู้ถูกลงโทษตามคำพิพากษาหรือไม่
มาตรา ๓๓
ในการริบทรัพย์สิน นอกจากศาลจะมีอำนาจริบตามกฎหมายที่บัญญัติไว้โดยเฉพาะแล้ว ให้ศาลมีอำนาจสั่งให้ริบทรัพย์สินดังต่อไปนี้อีกด้วย
มาตรา ๓๔
บรรดาทรัพย์สิน
มาตรา ๓๗
ถ้าผู้ที่ศาลสั่งให้ส่งทรัพย์สินที่ริบไม่ส่งภายในเวลาที่ศาลกำหนด ให้ศาลมีอำนาจสั่ง
มาตรา ๔๖
ถ้าความปรากฏแก่ศาลตามข้อเสนอของพนักงานอัยการว่าผู้ใดจะก่อเหตุร้ายให้
เกิดภยันตรายแก่บุคคลหรือทรัพย์สินของผู้อื่นห้ศาลมีอำนาจที่จะสั่งผู้นั้นให้ทำทัณฑ์บนโดยกำหนดจำนวนเงินไม่เกินกว่าห้าหมื่นบาทว่าผู้นั้นจะไม่ก่อเหตุร้าย
มาตรา ๔๗
ถ้าผู้ทำทัณฑ์บนตามความในมาตรา ๔๖ กระท าผิดทัณฑ์บน ให้ศาลมีอำนาจสั่งให้
ผู้นั้นช าระเงินไม่เกินจำนวนที่ได้กำหนดไว้ในทัณฑ์บน
มาตรา ๕๙
บุคคลจะต้องรับผิดในทางอาญาก็ต่อเมื่อได้กระทำโดยเจตนา เว้นแต่จะได้กระทำโดยประมาท
มาตรา ๖๔
บุคคลจะแก้ตัวว่าไม่รู้กฎหมายเพื่อให้พ้นจากความรับผิดในทางอาญาไม่ได้
มาตรา ๖๕
ผู้ใดกระทำความผิด ในขณะไม่สามารถรู้ผิดชอบ หรือไม่สามารถบังคับตนเองได้
เพราะมีจิตบกพร่อง โรคจิตหรือจิตฟั่นเฟือน ผู้นั้นไม่ต้องรับโทษสำหรับความผิดนั้น
มาตรา ๖๗
ผู้ใดกระท าความผิดด้วยความจ าเป็นถ้าการกระท านั้นไม่เป็นการเกินสมควรแก่เหตุแล้ว ผู้นั้นไม่ต้องรับโทษ
มาตรา ๖๘
ผู้ใดจำต้องกระทำการใดเพื่อป้องกันสิทธิของตนหรือของผู้อื่นให้พ้นภยันตรายซึ่ง
เกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมาย และเป็นภยันตรายที่ใกล้จะถึง ถ้าได้กระทำพอสมควรแก่เหตุ
การกระท านั้นเป็นการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย ผู้นั้นไม่มีความผิด
มาตรา ๗๐
ผู้ใดกระทำตามคำสั่งของเจ้าพนักงาน แม้ค าสั่งนั้นจะมิชอบด้วยกฎหมาย ถ้าผู้กระทำมีหน้าที่หรือเชื่อโดยสุจริตว่ามีหน้าที่ต้องปฏิบัติตาม ผู้นั้นไม่ต้องรับโทษ
มาตรา ๗๒
ผู้ใดบันดาลโทสะโดยถูกข่มเหงอย่างร้ายแรงด้วยเหตุอันไม่เป็นธรรม จึงกระทำความผิดต่อผู้ข่มเหงในขณะนั้น ศาลจะลงโทษผู้นั้นน้อยกว่าที่กฎหมายกำหนดไว้
นางสาววรพรรณ มณีรัตน์ 6001210941 secA เลขที่43