Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผลลัพธ์ทางสุขภาพและต้นทุน - Coggle Diagram
ผลลัพธ์ทางสุขภาพและต้นทุน
สภาวะสุขภาพ
สภาพของการมีชีวิตทางกายภาพ ทางจิตใจ และทางสังคมที่สมบูรณ์ ไมใช่เพียงไม่มีโรคภัยหรือความเจ็บป่วยทางกายเท่านั้น
คำถามที่ต้องการคำตอบ
Effectiveness
ได้ผลในทางปฏิบัติหรือไม่
Efficiency
คุ้มกับต้นทุนหรือไม่
Efficary
ดีจริงหรือไม่
Eqity
เป็นธรรมหรือไม่
ผลลัพธ์ทางสุขภาพในการประเมินเศรษฐกิจ
การวัดผลทางสุขภาพมีความสำคัญในการประเมินทางเศรษฐศาสตร์
แหล่งข้อมูลที่ดีของการวัดผลทางสุขภาพ
การประเมินระหว่างต้นทุนและผลลัพธ์
Health outcomes
Measuring health
เน้นการวัดที่ดูการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพ
Glucose level
Blood pressure
WBC
Valuing health
หาอัตรา น้ำหนัก โดยผลลัพธ์สุขภาพถูกระบุโดยการให้ค่าความพึงพอใจ
ประเภทผลลัพธ์ทางคลินิก
ผลลัพธ์ที่เป็นตัวแทน
ค่าที่ได้จากห้องปฏิบัติการ
ค่าสัญญาณทางกายภาพ
ข้อดี
มีค่าที่ชัดเจน
สามารถเห็นการเปลี่ยนแปลงระยะสั้น
สามารถวัดถึงค่าใช้ที่เกิดขึ้นในระยะสั้น
ข้อเสีย
ไม่ได้บ่งชี้ถึงผลลัพธ์สุดท้าย
อาจส่งผลที่คลาดเคลื่อนในด้านนโยบาย
ผลลัพธ์สุดท้าย
การปฏิบัติหน้าที่
การรอดชีวิต
ความรู้สึก
ข้อดี
ครอบคลุมผลการรักษา
มีความชัดเจนด้านนโยบาย
เป็นตัวแทนที่สะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลงของผลลัพธ์สุดท้าย
ข้อเสีย
ค่าใช้จ่ายสูง
อาจจะนานเกินไปในการเฝ้าติดตามผู้ป่วย
ต้นทุนทางด้านสุขภาพ
ประเภทของต้นทุน
ต้นทุนที่จับต้องได้, ต้นทุนที่จับต้องไม่ได้
ต้นทุนทางการแพทย์, ต้นทุนส่วนที่ไม่ใช่การแพทย์
ต้นทุนค่าลงทุน, ต้นทุนดำเนินการ
ต้นทุนทางตรง, ต้นทุนทางอ้อม
ต้นทุนแยกตามพฤติกรรมของต้นทุน
ต้นทุนรวม
ต้นทุนเฉลี่ย
ต้นทุนผันแปร
ต้นทุนคงที่
ประเภทของการศึกษาต้นทุน
Cost Centre Approach
ใช้ระบบบัญชีแบบดั้งเติม มีความเรียบง่าย ความเที่ยงตรง ตรวจสอบได้ง่าย
หาวิธีกระจายต้นทุนที่เหมาะสม
หาต้นทุนรวมทั้งหมด
หาต้นทุนรวมโดยตรงของแต่ละหน่วยงาน
หาต้นทุนต่อหน่วย
จัดแบ่งหน่วยงานออกเป็นหน่วยงานต้นทุน
Activity Approach
ระบบต้นทุนฐานกิจกรรม
จุดมุ่งหมายให้ผู้บริหารหันมาสนใจกับการบริหารกิจกรรมและต้นทุนที่เกี่ยวข้อง
มีการบริหารโดยแบ่งออกเป็นกิจกรรมต่างๆ และถือว่ากิจกรรมเป็นสิ่งที่ทำให้เกิดต้นทุน ส่วนผลิตภัณฑ์นั้นเป็นสิ่งที่ใช้กิจกรรมต่างๆอีกทีหนึ่ง
การคำนวณต้นทุนทางลัด
ค่าแรง
ค่าแรงที่ควบคุมไม่ได้
ค่าแรงที่ควบคุมได้
ค่าวัสดุ
ค่าใช้สอย
ค่าเวชภัณฑ์
ค่าสาธารณูปโภค
ค่าครุภัณฑ์
ค่าเสื่อมราคาครุภัณฑ์
ค่าเสื่อมราคาสิ่งก่อสร้าง
มุมมองต้นทุน
ผู้ให้บริการ
ผู้ป่วย
ผู้จ่ายเงิน
มุมมองด้านสังคม
ประโยชน์ของการศึกษาต้นทุน
ทำให้มีข้อมูลและสามารถนำเสนอค่าใช้จ่ายตามหมวด
ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพ
ใช้คำนวณอัตราคืนทุน
ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับผู้บริหาร
วงจรการผลิตและบริโภคด้านสุขภาพ
ต้นทุนที่ไม่ได้อยู่ในรูปตัวเงิน
อุปกรณ์
วิธีการ
คน
ต้นทุนที่อยู๋ในรูปของตัวเงิน
งบประมาณด้านการจัดบริการสุขภาพ
ปัจจัยส่งผลการวิเคราะห์ต้นทุนแตกต่างกัน
การวิเคราะห์ต้นทุนมุมมองต่างกัน
การกระจายต้นทุนต่างกัน
วิธีการวิเคราะห์ต่างกัน
การใช้ข้อมูลและเวลาที่ต่างกัน
แหล่งข้อมูลที่ต่างกันส่งผลให้ได้ข้อมูลต้นทุนแตกต่างกัน