Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การลำเลียงสารเข้า - ออกเซลล์ - Coggle Diagram
การลำเลียงสารเข้า - ออกเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเยื้อหุ้มเซลล์ (transport across membrane)
เป็นการลาเลียงสารผ่านส่วนใดส่วนหน่ึงของเยื่อหุ้มเซลล์ (Cell membrane)
อาศยั พลังงานจลน์ของสาร ทาให้เกิดการเคลื่อนท่ีของตัวสารได้เอง ตามกฎข้อท่ี2ของ Thermodynamics
สารมีแนวโน้มจะเคลื่อนท่ีจากบริเวณท่ีมีความเข้มข้นมาก ไปยัง
บริเวณท่ีมีความเข้มข้นน้อย (concentration gradient)
สารจะเคลื่อนท่ีจนกว่าทุกบริเวณจะมีความเข้มข้นของสารเท่ากัน
(แรงลัพธ์ = 0) เรียกสภาวะนีว้ ่า สมดุลของการแพร่ (Dynamic Equilibrium)
แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ
Passive transport แบบไม่ใช้พลังงาน
ความเข้มข้นของสารละลายมาก → น้อย
simple diffution การแพร่แบบธรรมดา
เป็นการเคลื่อนท่ีของโมเลกุลหรือไอออนของสารใดๆท่ีเป็น “ตัวถูกละลาย (Solute)” จากบริเวณท่ีมีความเข้มข้นมากไปยังบริเวณท่ีมีความเข้มข้นน้อยจนกว่าจะเท่ากัน
บริเวณของเยื่อหุ้มเซลล์ท่ีเกิดการแพร่แบบธรรมดาคือ Phospholipid bilayer โดยไม่อาศัยตัวพา(Carrier) ใดๆ
ประเภทของสารท่ีเกิดการแพร่แบบธรรมดา มีตัวถูกละลายท่ีมีขนาดเล็กเช่น CO2, O2 และอนุภาคของแข็งซ่ึงแขวนลอยอยู่ในตัวกลางท่ีเป็นของเหลวก็ได้
ปัจจัยท่ีมีผลต่อการแพร่ได้แก่
ความแตกต่างของความเข้มข้นของสาร
สิ่งเจือปนและชนิดของสารตัวกลาง
อุณหภูมิ/ความดัน
ขนาดและนา้หนักโมเลกุลของสารท่ีจะแพร่
สถานะของสารท่ีจะแพร่
Facilitated Diffusion การแพร่แบบฟาซิลิเทต
ประเภทของสารท่ีเกิดการแพร่แบบฟาซิลิเทต ได้แก่ion ของสารขนาดเล็กท่ีมีขัว้ เช่น Na+, CLและตัวถูกละลายท่ีมีขนาดโมเลกุลใหญ่เช่นGlucose,Amino acid
เกิดขึ้นได้เร็วกว่าการแพร่แบบ
ธรรมดา
ความเข้มข้นสูงไปยังบริเวณท่ีมีความเข้มข้นของสารตต้องอาศัย ตัวพา (Carrier)
การแพร่แบบฟาซิลิเทต ได้แก่ การ
ล าเลียงน ้าตาลกลูโคสเข้าสู่เซลล์กล้ามเนื้อ
Osmosis
เป็นตัวทำาละลาย(Solvent) ผ่านเยื่อเลือกผ่าน (Semipermeable Membrane) จากบริเวณท่ีมีความเข้มข้นของสารละลายต ่าไปยังบริเวณท่ีมีความเข้มข้นของสารละลายสูง
เนื่องจากเป็นการเคลื่อนท่ีของตัวท าละลาย จึงมีผล
ทำให้เกิดการเปล่ียนปริมาตร
เมื่อนำเซลล์ของสิง่ มีชีวิตไปแช่ในสารละลายท่ีมีความเข้นข้นแตกต่างจากเซลล์ จะทำาให้เกิดรูปแบบการออสโมซิสท่ีแตกต่างกันออกไปดังนี้
Hypertonic solution เคลื่อนท่ออกจากเซลล์ ี ทำให้เกิดปรากฏการณ์เซลล์เห่ียว (Plasmolysis)
Hypotonic solution เคลื่อนท่ีเข้าสู่เซลล์ ทำให้เกิดปรากฏการณ์เซลล์เต่ง (Plasmoptysis)
Isotonic solution เคลื่อนท่ีเข้าและออกเซลล์ในอัตราที่เท่ากัน
Ion exchange การแลกเปล่ียนไอออน
เป็นกระบวนการแลกเปล่ียน ion ระหว่างภายในเซลล์
กับภายนอกเซลล์ โดยต้องเป็น ion ท่ีมีขัว้ เดียวกัน
ตัวอย่างเช่น การดูดซึมแร่ธาตุ K + หรือ Ca2+ จากดินเข้าสู่รากพืช แลกเปล่ียนกับ H+จากรากพืชออกสู่ดิน
Imbibition การดูดซับน้ำ
เป็นการดูดน า้ในลักษณะการซบั น า้ พบในพืช
อาศัยสารสำคัญใน Cell wall ของพืช คือ
Cellulose และ Pectin
มีประโยชน์ในการงอกของเมล็ด และการล าเลียงน า้ ใน
พืช
Dialysis ไดอะไลซิส
เป็นกระบวนการท่ีเกิดตรงข้ามกับออสโมซิส กล่าวคือเป็นการเคลื่อนท่ีของสารท่ีเป็นตัวถูกละลาย ผ่านเยื่อเลือกผ่าน (Semipermeable Membrane)
เป็นหลักการน าไปประดิษฐ์เครื่องฟอกไตเทียม
(Hemodialysis)
Active transport
ทิศทางการเคลื่อนท่ีของสาร จากบริเวณท่ีมี
ความเข้มข้นของสารละลายน้อย → มาก
ใช้สารพลังงานคือ ATP คร้ายกับ ฟาซิลิเซต ตรงที่ต้องใช้ protein carrier
เป็นการลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์แบบใช้พลังงาน
แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
Primary active transport เป็นการล าเลียงสารใน
ทิศทางเดียวต่อการล าเลียง 1 ครั้ง
Secondary active transport เป็นการลำเลียงสาร
2 ทิศทางต่อการล าเลียง 1 ครั้ง
การลำเลียงแสงแบบไม่ผ่านเยื้อหุ้มเซลล์(Vesicle mediated transport/Bulk transport)
Endocytosis การนำสารเข้าสู่เซลล์
เป็นการลำเลียงสารที่ทีขนาดโมเลกุลใหญ่จากสิ่งแวดล้อมภายนอกเข้าสู่เซลล์ แบ่งออกเป็น 3 วิธี คือ
Pinocytosis (cell drinking)
ตัวอย่างการล าเลียงแบบนี้ได้แก่ การลำเลียงไขมันท่ี
ผ่านการย่อยแล้วเข้าสู่เซลล์เยื่อบุผิวของล าไส้เล็ก
เป็นการล าเลียงสารท่ีมีสถานะของเหลวนำเข้าสู่เวลล์โดยการเว้าเข้าไปของเยื่อหุ้มเซลล์จนเกิดเป็นถุง
Receptor - mediated endocytosis
การนำสารเข้าสู่เซลล์โดยอาศัยตัวรับ
เป็นการลำเลียงสารเข้าสู่เซลล์ที่เกิดขึ้นโดยมีโปรตีนที่
อยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์ท าหน้าท่ีเป็นตัวรับ
สารที่ถูกลำเลียงด้วยวิธีนี้จะต้องมีความ จำเพาะใน
การจับกับโปรตีนตัวรับท่ีอยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์
ตัวอย่างการล าเลียงแบบนี้ได้แก่ การนำ Hormone
บางชนิดเข้าสู่เซลล์
Phagocytosis (cell eating)
โดยการใช้ Pseudopodium ยื่นเยื่อหุ้มเซลล์ไปโอบ
ล้อมสารนัน้ๆ แล้วสร้างเป็นถุงนำเข้าไปภายในเซลล์
ตัวอย่างการล าเลียงแบบนี้ได้แก่ การกินอาหารของ
อะมีบา
เป็นการล าเลียงท่ีมีขนาดโมเลกุลใหญ่และมีสถานะเป็น
ของแข็ง หรือวัตถุขนาดใหญ่เช่นเซลล์ นำเข้าสู่เซลล์
Exoctosis การนำสารออกจากเซลล์
เป็นการลำเลียงสารที่มีขนาดโมเลกุลใหญ่ออกจากเซลล์ โดยบรรจุอยู่ในถุง (vesicle) แล้วถุงจะค่อยๆ เคลื่อนเข้ามาเชื่อมรวมกับเยื่อหุ้มเซล จากนัน้ สารที่บรรจุอยู่ในถุงจะถูกปล่อยออกสู่นอกเซลล์ล์
ตัวอย่างการล าเลียงแบบนี้ ได้แก่ การหลั่งนำ้ ลาย
การหลั่งเอนไซม์ในระบบทางเดินอาหาร
เป็นการลำเลียงสารที่มีขนาดโมเลกุลใหญ่มากโดยเยื่อหุ้มหรือโอบล้อมสาร นั้นๆ จนกลาย เป็นถุง(Vescicle) และนำเข้า หรือ ออกเซลล์