Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Uterine Rupture, นางสาวอริญา ไชยสัจ เลขที่ 124 รหัส 602701125 - Coggle…
Uterine Rupture
-
การดูแลรักษา
- นึกถึงภาวะมดลูกแตกเสมอในรายที่มีเหตุชวนให้เกิด
- แก้ไขสาเหตุของภาวะมดลูกแตกคุมคาม ถ้าคลอดทางช่องคลอดไม่ได้ ก็ควร C/S
-
- Exploratory laparotomy ทุกรายทันที ไม่ว่าทารกจะมีชีวิตอยู่หรือไม่
- เย็บซ่อมแซมหรือตัดมลูกขึ้นอยู่กับพยาธิสภาพของรอยแตก และความต้องการมีบุตรหรือไม่ อาจพบมีความเสี่ยงต่อมดลูกแตกซ้ำในครรภ์ต่อไปได้ ดังนั้น ถ้าไม่ต้องการมีบุตรและเย็บซ่อมแซมได้ให้ทำหมันเสีย ส่วนใหญ่มักจะตัดมดลูกถ้าเลือดออกอีกอาจต้องผ่าตัดเพื่อผูกHypogastric arteries ทั้งสองข้างร่วมด้วยภายหลังการตัดมดลูกออกแล้ว
- ให้เลือดทดแทน และในยาปฏิชีวนะเต็มที่
-
-
พยาธิสภาพ
-
Incomplete rupture รอยแตกไม่ทะลุชั้น peritoneum คือ มีแต่การฉีกขาดของชั้นกล้ามเนื้อมดลูกเท่านั้น ส่วน peritoneum ยังคงปกติดีอยู่ แต่ส่วนมากแล้วเด็กมักหลุดเข้าไปใน Broad ligaments
มดลูกปริ (Dehiscence) แผลเก่าแยกจากกันโดยเยื่อหุ้มทารกยังไม่แตกและทารกไม่ถูกดันเข้าสู่ท้อง ซึ่งจะดำเนินอย่างค่อยเป็นค่อยไป และในระยะคลอดมดลูกปริอาจกลายเป็นมดลูกแตกได้
-
การวินิจฉัย
-
อาการของมดลูกแตกแล้ว
- อาการปวดท้องน้อย จะทุเลาลง อาจบอกได้ว่ามีอะไรแยกออก
- อาจพบมีเลือดออกทางช่องคลอด
- มีอาการช็อคหรือไม่ ขึ้นอยู่กับพยาธิสภาพของรอยแตก ว่ามีเลือดออกมากน้อยเพียงใด
- คลำส่วนของทารกได้ชัดเจนมากขึ้น และอาจคลำได้มดลูกอยู่ข้าง ๆ ทารก
- เสียงหัวใจจะเปลี่ยนแปลงหรือหายไปขึ้นอยู่กับพยาธิสภาพที่มดลูก
- การตรวจภายในพบว่าส่วนนำถอยกลับหรือสูงขึ้น หรือคลำไม่ได้ อาจคลำพบรอยแตกได้
- ส่วนปัสสาวะอาจได้ อาจพบเลือดออกปัสสาวะด้วยถ้ามีฉีกขาดของกระเพาะปัสสาวะ
- อาจคลำได้ก้อนหยุ่น ๆ ข้างมดลูก ถ้ามีเลือดเข้าไปใน broad ligament
ความหมาย
ภาวะที่มีการฉีกขาดของผนังตัวมดลูกที่ตั้งครรภ์ หลังจากทารกโตพอที่จะมีชีวิตอยู่ได้ (Viability) หรือหลังอายุครรภ์ 28 สัปดาห์ และเกิดการฉีกขาดระหว่างตั้งครรภ์หรือระหว่างเจ็บครรภ์หรือระหว่างคลอดโดยไม่รวมการแตก หรือฉีกขาดระยะครรภ์อ่อนเดือน เช่น การแตกของครรภ์นอกมดลูกชนิด Interstitial หรือการทะลุของมดลูกที่ไม่ได้ตั้งครรภ์
-