Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผลลัพธ์ทางสุขภาพ และ ต้นทุน (Health out comes and Unit cost) - Coggle…
ผลลัพธ์ทางสุขภาพ และ ต้นทุน
(Health out comes and Unit cost)
ประสิทธิภาพ (Efficiency)
ไม่ใช่ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลือง “ประสิทธิภาพเชิงเทคนิค (Technical efficiency)
สร้างผลผลิตโดยใช้ต้นทุนต่ำที่สุด
“ความคุ้มค่า (Cost effectiveness)”
สร้างผลผลิตตามชนิดและปริมาณที่คนท้งัหลายให้คุณค่าสูง
ที่สุด “ประสิทธิภาพในการจัดสรร (Allocative efficiency)”
ผลลัพธ์ทางสุขภาพในการประเมินทางเศรษฐศาสตร์
Outcomes in economic evaluation
การประเมินทางเศรษฐศาสตร์เป็นการประเมินระหว่าง
ต้นทุน (costs) และ ผลลัพธ์ (benefits)
การวัดผลทางสุขภาพมีความสำคัญในการ
ประเมินทางเศรษฐศาสตร์
อะไรถือว่าเป็นแหล่งข้อมูลทีดี
ของการวัดผลทางสุขภาพ
Health status evaluation
การวัดผลลัพธ์ในรูปของสภาวะสุขภาพ มีความซับซ้อนและยุ่งยากมากกว่า
โครงการต่าง และบริการทางการแพทย์มีความแตกต่างกันที่จุดมุ่งหมายและวิธีการ ถึงแม้ว่าจะมีจุดมุ่งหมายให้ผู้ป่วยมีสุขภาพดี
Health outcomes
Measuring health
การวัดผลลัพธ์สุขภาพสามารถรถวัดได้หลากหลาย โดยเน้นการวัดที่ดูการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพ เช่น Blood pressure, Glucose level, White blood cell
Valuing health
การให้ค่าสุขภาพ เป็นอีกทางเลือกหนึ่ง โดยวิธีการหาอัตรา “Rate”ให้น้ำหนัก “Weight” โดยผลลัพธ์สุขภาพถูกระบุโดยการให้ค่าความพึงพอใจ Preferences ในขณะที่อยู่ในสภาวะสุขภาพนั้นๆ
ประเภทของผลลัพธ์ทางคลินิก (Clinical outcome type)
ผลลัพธ์ที่เป็นตัวแทน หรือ ผลลัพธ์ระยะกลาง
(Surrogate outcomes or Intermediate outcomes)
มีการก้าหนดผลลัพธ์ขึนมาเพื่อเป็นตัวแทนผลลัพธ์สุขภาพ
ค่าที่ได้จากห้องปฏิบัติการ (Laboratory)
ค่าสัญญาณทางกายภาพ (Physical sign)
ผลลัพธ์สุดท้าย (Final outcomes) ผลลัพธ์ทางสุขภาพขั้นสุดท้าย
ซึ่งเป็นสิ่งที่มีคุณค่าและมีความส้าคัญกับผู้ป่วย
ความรู้สึก (Feeling)
การปฏิบัติหน้าที่ (Function)
การรอดชีวิต (Survival)
ข้อดีและข้อเสียของผลลัพธ์ทางสภาวะสุขภาพ
ผลที่เป็นตัวแทน
Intermediate outcomes
ข้อดี
มีค่าที่ชัดเจน
สามารถเห็นการเปลี่ยนแปลงระยะสั้น
สามารถวัดถึงค่าใช้ที่เกิดขึนในระยะสั้น
ข้อเสีย
ไม่ได้บ่งชี ถึงผลลัพธ์สุดท้าย
อาจส่งผลที่คลาดเคลื่อนในด้านนโยบาย
ผลสุดท้าย
Final outcomes
ข้อดี
เป็นตัวแทนที่สะท้อนถึงการ
เปลี่ยนแปลงของผลลัพธ์สุดท้าย
ครอบคลุมผลการรักษา
มีความชัดเจนด้านนโยบาย
ข้อเสีย
อาจจะนานเกินไปในการเฝ้าติดตามผู้ป่วย
ค่าใช้จ่ายสูง
ต้นทุนทางด้านสุขภาพ
(Health care cost)
มุมมองต้นทุน
ประเภทของต้นทุน (Cost classification)
ประเภทของการศึกษาต้นทุน (Unit cost analysis type)
ประโยชน์ของการศึกษาต้นทุน
วงจรการผลิตและการบริโภคด้านสุขภาพ
ปัจจัยนำเข้าการผลิตบริการสุขภาพ
ต้นทุนที่ไม่ได้อยู่ในรูปตัวเงิน (คน อุปกรณ์ วิธีการ)
ต้นทุนที่อยู่ในรูปของตัวเงิน (งบประมาณด้านการจัดบริการสุขภาพ)
ต้นทุน
ผู้จ่ายเงิน (Payer or Purchaser perspective) ค่าใช้จ่ายที่ขอเบิกจ่ายจากผู้จ่าย
ผู้ให้บริการ (Hospital or provider perspective) ต้นทุนที่แท้จริงในการ
ให้บริการ (โดยไม่คำนึงว่าเรียกเก็บเท่าไร)
ผู้ป่วย (Patient perspective) จำนวนเงินที่ผู้ป่วยต้องจ่ายเพื่อรับบริการ และต้นทุนอื่นๆที่เกิดขึ้น
มุมมองด้านสังคม (Societal perspective) ต้นทุนโดยรวมทั้งหมดที่เกิดขึ้นกับ
ส่วนต่างๆในสังคมทั้งต้นทุนด้านการรักษาและต้นทุนไม่ใช่การรักษา
(All medical and nonmedical costs)
ประเภทของต้นทุน
ต้นทุนที่จับต้องได้ (Tangible costs) vs.
ต้นทุนที่จับต้องไม่ได้ (Intangible costs)
ต้นทุนทางการแพทย์ (Medical costs) vs.
ต้นทุนส่วนที่ไม่ใช่การแพทย์ (Non-medical costs)
ต้นทุนค่าลงทุน (Capital costs) vs.
ต้นทุนด ําเนินกําร (Operational [Recurrent] costs)
ต้นทุนทางตรง (Direct costs) vs.
ต้นทุนทํางอ้อม (Indirect costs)
ต้นทุนแยกตามพฤติกรรมของต้นทุน
ต้นทุนคงที่ (Fixed cost: FC)
ต้นทุนผันแปร (Variable cost:VC)
ต้นทุนรวม (Total cost: TC หรือ Full cost)
ต้นทุนเฉลี่ย (Average cost) = ต้นทุนต่อหน่วย (Unit cost)
ต้นทุนและการวิเคราะห์ระบบ
ผลผลิต (OUTPUT)
บริการ OPD
จำนวนคร้ังของบริการ
บริการ IPD
จำนวนวันนอนผู้ป่วยใน
การเรียนการสอน
จำนวนนักศึกษา
งานวิจัย
จำนวนงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่
ประเภทของการศึกษาต้นทุน
Cost Centre Approach
ใช้ระบบบัญชีแบบดั งเดิม (Traditional cost accounting method)
มีความเรียบง่าย ความเที่ยงตรง และตรวจสอบได้ง่าย
ขั้นตอนในการศึกษาต้นทุน: Cost Centre Approach
จัดแบ่งหน่วยงานออกเป็ นหน่วยงานต้นทุน
(Cost Centre Identification & Grouping)
หาต้นทุนรวมโดยตรงของแต่ละหน่วยงาน
(Direct Cost Determination)
หาวิธีกระจายต้นทุนที่เหมาะสม
(Allocation criteria)
หาต้นทุนรวมทั้งหมด
(Full Cost Determination)
หาต้นทุนต่อหน่วย
(Unit Cost)
Activity Approach (Activity based costing: ABC)
ระบบต้นทุนฐานกิจกรรม (Activity-Based Costing) หรือระบบ ABC
เป็นเครื่องมือในการบริหารงานในลักษณะการบริหารงานฐานคุณค่า
จุดมุ่งหมายให้ผู้บริหารหันมาให้ความสนใจกับการบริหารกิจกรรมและต้นทุนที่เกี่ยวข้อง
มีการบริหารโดยแบ่งออกเป็นกิจกรรมต่าง ๆ และถือว่ากิจกรรมเป็นสิ่งที่ทำ
ให้เกิดต้นทุน ส่วนผลิตภัณฑ์นั้นเป็นสิ่งที่ใช้กิจกรรมต่าง ๆ อีกทีหนึ่ง
กิจกรรม คือ การกระทำที่เปลี่ยนทรัพยากรของกิจการออกมาเป็นผลผลิตได้