Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผลลัพธ์ทางสุขภาพและต้นทุน (Health out comes and Unlt cost),…
ผลลัพธ์ทางสุขภาพและต้นทุน
(Health out comes and Unlt cost)
สภาวะสุขภาพ
สภาพของการมีชีวิต ทางกายภาพ ทางจิตใจ และทางสังคมที่สมบูรณ์ไม่ใช้เพียงไม่มีโรคภัคหรือความเจ็บป่วยทางกายเท่านั้น
effectiveness
ได้ผลในทางปฎิบัติหรือไม่
efficiency
คุ้มกับต้นทุนหรือไม่
equity
เป็นธรรมหรือไม่
efficacy
ดีจริงหรือไม่
สร้างผลผลิตโดยใช้ต้นทุนต่ำสุด "คุ้มค่า"
สร้างผลผลิตตามชนิดและปริมาณที่คนทั้งหลายให้คุณค่าสูงที่สุด "ประสิทธิภาพในการจัดสรร"
ไม่ใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลือก "ประสิทธิภาพเชิงเทคนิค"
ต้นทุนทางด้านสุขภาพ
ประเภทของต้นทุน
ต้นทุนแยกตามพฤติกรรมของต้นทุน
ต้นทุนรวม(Total cost :TC หรือFull cost)
ต้นทุนแปรผัน
ต้นทุนคงที่
ต้นทุนผันแปร(Variable cost :VC)
ค่ายา
ค่าน้ำยาห้องปฏิบัติการ
ค่าไฟฟ้า น้ำประปา
ค่าแพทย์
ต้นทุนคงที่ (Fixed cost : FC)
ค่ารับจ้างเหมาจ่ายรายเดือน
ค่าเช่าอุปกรณ์
เงินเดือน
ค่าเสื่อมราคาของครุภัณฑ์
ต้นทุนเฉลี่ย(Average cost)
ต้นทุนและการวิเคราะห์ระบบ
ผลผลิต(OUTPUT)
บริการ IPD
จำนวนวันนอนผู้ป่วยใน
การเรียนการสอน
จำนวนนักศึกษา
บริการ OPD
จำนวนครั้งบริการ
งานวิจัย
จำนวนงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยพร่
ประเภทของการศึกษาต้นทุน
2.Activity Approach
การกระทำที่เปลี่ยนทรัพยากรของกิจกรรมออกมาเป็นผลผลิตได้ ดังนั้น การบัญชีต้นทุนกิจกรรมนอกจากเน้นการระบุกิจกรรมของกิจการแล้วยังพยายามระบุต้นทุนของกิจกรรม
หาวิธีกระจายต้นทุนที่เหมาะสม
หาต้นทุนรวมทั้งหมดของแต่ละกิจกรรม
หาต้นทุนรวมโดยตรงของแต่ละหน่วยงาน
หาต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม
วิเคราะห์และระบุหน่วยกิจกรรม
3.การคำนวณต้นทุนทางลัด
เก็บรวบรวมข้อมูลรายจ่ายทุกหมวดตลอดปี
ค่าแรง
ค่าแรงที่ควบคุมได้
ค่าแรงที่ควบไม่ได้
ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสิ้นเปลือก
ค่าเวชภัณฑ์
ค่าสาธารณูปโภค
ค่าใช้สอย
ค่าซ่อมแซม
ค่าครุภัณฑ์
ค่าเสื่อมราคาครุภัณฑ์
ค่าเสื่อมราคาสิ่งก่อสร้าง
1.Cost Centre Approach
ใช้ระบบบัญชีแบบดั้งเดิม มีความเรียบง่าย ความเที่ยงตรง และตรวจสอบได้ง่าย
หาต้นทุนรวมโดยตรงของแต่ละหน่วยงาน
หาวิธีกระจายต้นทุนที่เหมาะสม
จัดแบ่งหน่วยงานออกเป็นหน่วยงานต้นทุน
หาต้นทุนรวมทั้งหมด
หาต้นทุนต่อหน่วย
มุมมองต้นทุน
ผู้รับบริการ
ต้นทุนที่แท้จริงในการให้บริการ(โดยไม่คำนึงว่าเรียกเก็บเท่าไร)
ผู้ป่วย
จำนวนที่ผู้ป่วยต้องจ่ายเพื่อรับบริการและต้นทุนอื่นๆที่เกิดขึ้น
ผู้จ่ายเงิน
ค่าใช้จ่ายที่ขอเบิกจ่ายจากผู้จ่าย
มุมมองด้านสังคม
ต้นทุนโดยรวมทั้งหมดที่เกิดขึ้นกับส่วนต่างๆในสังคม
ต้นทุนด้านการรักษาและต้นทุนไม่ใช่การรักษา
ประโยชน์ของการศึกษาข้อมูลต้นทุน
ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพ จาการเปรียบเทียบต้นทุนกับผลลัพธ์ที่จะได้
ใช้คำนวณอัตราคืนทุน เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการวางนโยบายว่า กิจกรรมใด ควรมีอัตราคืนทุนเท่าไรจึงจะเหมาะสม
ทำให้มีข้อมูลและสามารถนำเสนอค่าใช้จ่ายตามหมวด และมิติต่างๆได้อย่างรวดเร็ว
ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับผู้บริหาร
ปัจจัยที่ส่งผลการวิเคราะห์ต้นทุนแตกต่างกัน
วิธีการวิเคราะห์ต่างกัน ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์
การวิเคราะห์ต้นทุนมุมมองต่างกัน
แหล่งข้อมูลที่ต่างกันส่งผลให้ได้ข้อมูลต้นทุน
การกระจายต้นทุนต่างกัน
การใช้ข้อมูลและเวลาที่ต่างกัน
ผลลัพธ์ทางสุขภาพในการประเมินทางเศรษฐศาสตร์
Health status evaluation
การวัดผลลัพธ์ในรูปของสภาวะสุขภาพ มีความซับซ้อน และยุ่งยากมากกว่าโครงการต่าง
บริการทางการแพทย์มีความแตกต่างกันที่จุดมุ่งหมายและวิธีการ
Health outcomes
Measuring health
การวัดผลลัพธ์สุขภาพสามารถวัดได้หลากหลาย
โดยเน้นการวัดที่ดูการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพ
Valuing health
การให้ค่าสุขภาพ เป็นอีกทางเลือกหนึ่งโดยวิธีการหาอัตรา "Rate" ให้ น้ำหนัก "Weight"
โดยผลลัพธ์สุขภาพถูกระบุโดยการให้ค่าความพอใจ
ประเภทของผลลัพธ์ทางคลินิก(Clinica outcome type)
ผลลัพธ์ที่เป็นตัวแทนหรือผลลัพธ์ระยะกลาง
ค่าที่ได้จากห้องปฏิบัติการ (Laboratory)
ค่าสัญญาณทางกายภาพ(Physical sign)
ผลลัพธ์สุดท้าย (Final outcomes)ผลลัพธ์ทางสุขภาพขั้นสุดท้าย
ความรู้สึก(Feeling)
การปฏิบัติหน้าที่(Function)
การรอดชีวิต(Survival)
ผลลัพธ์ที่เป็นตัวแทนและผลลัพธ์สุดท้าย
Surrogate outcomes
ระดับ LDL-C และ HDL-C
ความหนาแน่นของมวลกระดูก
ระดับความดันโลหิต
ระดับ CD4
จำนวนผู่ป่วยที่ตรวจพบ
Final outcomes
การเสียชีวิตจากโรคหัวใจและหลอดเลือด
การเสียชีวิตจากเส้นเลือดแตก ตีบและตัน
กระดูกหัก
การเสียชีวิตจากโรคเอดส์และโรคฉวยโอกาส
การเสียชีวิตจากภาวะแทรซ้อน
โรค/ภาวะที่ทำการประเมิน
กระดูกพรุน
ภูมิคุ้มกันบกพร่อง
ภาวะไขมันในเลือดสูง
การตรวจคัดกรองเบาหวาน
ความดันโลหิตสูง
ผลลัพธ์สภาวะสุขภาพและผลของการรักษา
ซักประวัติตรวจร่างกาย
การวินิจฉัยเบื้องต้น
การวินิจฉัยโรคที่แน่นอน
การรักษา,ยา,หตัถการ
ผลระยะสั้น วัดโดยใช้ผลลัพธ์ที่เป็นตัวแทน
ผลระยะยาว วัดโดยใช้ผลลัพธ์สุดท้าย
Why measuring Health outcomes!
เพื่อประเมินผลกระทบ ของ health intervention
เพื่อประเมินความครอบคลุมของด้านสังคมและเศรษฐกิจในการบริการของประเทศ
เพื่อคาดคะเน health of individual and population
ข้อดีและข้อเสียของผลลัพธ์ทางสภาวะสุขภาพ
ผลสุดท้าย
ข้อดี
ครอบคลุมผลการรักษา
มีความชัดเจนด้านนโยบาย
เป็นตัวแทนที่สะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลงของผลลัพธ์สุดท้าย
ข้อเสีย
อาจจะนานเกินไปในการเฝ้าติดตามผู้ป่วย
ค่าใช้จ่ายสูง
ผลที่เป็นตัวแทน
ข้อดี
สามารถเห็นการเปลี่ยนแปลงระยะสั้น
สามารถวัดถึงค่าใช้ที่เกิดขึ้นในระยะสั้น
มีค่าที่ชัดเจน
ข้อเสีย
ไม่ได้บ่งชี้ถึงผลลัพธ์สุดท้าย
อาจส่งผลที่คลาดเคลื่อนในด้านนโยบาย
วงจรการผลิตและการบริโภคด้านสุขภาพ
ต้นทุนที่ไม่ได้อยู่ในรูปตัวเงิน
อุปกรณ์
วิธีการ
คน
ต้นทุนที่อยู่ในรูปของตัวเงิน
งบประมาณด้านการจัดบริการสุขภาพ
นางสาวนิลาวัลย์ ดีเสมอ รหัสนักศึกษา623601038 ห้อง1A เลขที่38