Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเตรียมเครื่องมือในการวิจัย - Coggle Diagram
การเตรียมเครื่องมือในการวิจัย
ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ
1.การศึกษาตำรา เอกสาร บทความ แนวคิดทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.การสร้างแบบร่างเครื่องมือที่จะวัดให้ครอบคลุมตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย
3.นำแบบร่างเตรื่องมือ หาความเที่ยงตรง จากผู้เชี่ยวชาญ
4.นำเครื่องมือไปทดลองใช้กับกลุ่มที่มีความคล้ายคลึงกับกลุ่มตัวอย่าง ประมาณ 20-50 คน
5.กรณีผลการทดสอบความเชื่อมั่น
ความหมายและประเภทของข้อมูล
ข้อมูล หมายถึง ตัวเลข ตัวหนังสือ หรือสัญลักษณ์ ที่บอกปริมาณ หรือลักษณะอาการของตัวแปรที่ต้องการศึกษา
1.แบ่งตามแหล่งที่มา
1.1ข้อมูลปฐมภูมิ เป็นข้อมูลที่ผู้วิจัยรวบรวมจากแหล่งของข้อมูลโดยตรง จากการใช้เครื่องมือวัด
1.2ข้อมูลทุติยภูมิ เป็นข้อมูลที่ผู้วิจัยไม่ได้เก็บรวบรวมมาจากแหล่งข้อมูลโดยตรง แต่ได้มาจากข้อมูลที่มีผู้อื่นรวบรวมไว้แล้ว ซึ่งข้อมูลประเภทนี้โดยมากมักจะได้มาจากเอกสาร สถิติ หรือทะเบียนของหน่วยงาน
แบ่งตามระดับการวัด
2.1 ข้อมูลระดับนามบัญญัติ (Nominal scale) ข้อมูลที่แบ่งเป็นกลุ่มเป็นพวก เช่น เพศ อาชีพ ศาสนา
2.2ข้อมูลระดับอันดับ (Ordinal scale) ข้อมูลที่สามารถบอกอันดับที่ของความแตกต่างได้ แต่ไม่สามารถบอกระยะห่างของอันดับที่แน่นอนได้
2.3ข้อมูลระดับอันตรภาค (Interval scale) ข้อมูลที่มีช่วงห่าง หรือระยะห่างเท่าๆ กัน สามารถวัดค่าได้เป็นข้อมูลที่ไม่มีศูนย์แท้ เช่น อุณหภูมิ คะแนนสอบ
2.4ข้อมูลระดับอัตราส่วน (Ratio scale) ข้อมูลที่มีมาตราวัดหรือระดับการวัดที่สูงที่สุด
3.แบ่งตามลัษณะของข้อมูล
3.1ข้อมูลเชิงปริมาณ เป็นข้อมูลที่สามารถวัดออกมาเป็นจำนวนหรือตัวเลขได้โดยตรง
3.2ข้อมูลเชิงคุณภาพ เป็นข้อมูลที่แสดงถึงคุณลักษณะต่างๆ
4.แบ่งตามคุณสมบัติของข้อมูล
4.1 ข้อมูลปรนัย เป็นข้อมูลที่ได้มาจากความจริง วัดหรือนับได้โดยตรง
4.2 ข้อมูลอัตนัย เป็นข้อมูลที่ได้จากการแปลความ หรือตีความของผู้เก้บข้อมูลอีกทีหนึ่ง
แบ่งตามแหล่งข้อมูล
5.1ข้อมูลส่วนบุคคล เป้นข้อมูลรายละเอียดส่วนตัวของบุคคลหรือกลุ่มตัวอย่างที่จะศึกษา เช่น ชื่อ เพศ อายุ
5.2ข้อมูลสิ่งแวดล้อม
5.2เป็นรายละเอียดส่วนประกอบภายนอกของบุคคล ได้แก่ สภาพแวดล้อม
5.3ข้อมูลพฤติกรรม เป็นข้อมูลที่เป็นลักษณะต่างๆ ที่บุคคลแสดงออกมา ได่แก่ ความคิด ความรู้สึก การกระทำต่างๆ
การสร้างเครื่องมือในการวิจัย
หมายถึง วัสดุ อุปกรณ์ สำหรับนักวิจัยใช้รวบรวมข้อมูลตามตัวแปรในการวิจัย
แบบสอบถาม (Questionaire) เป็นเครื่องมือในการวิจัยที่นิยมนำมาใช้รวบรวมข้อมูลงานวิจัยเชิงปริมาณ
1.1แบบคำถามเปิด เป็นรูปแบบของคำถามในลักษณะที่ถามกว้างๆ
1.2แบบคำถามปิด เป็นรูปแบบคำถามที่ผู้สร้างมีจุดมุ่งหมายแน่นอนและจัดเตรียมคำตอบไว้ล่วงหน้า
1.3คำถามแบบผสม เป็นแบบที่มีทั้งข้อคำถามแบบปลายปิดและคำถามแบบปลายเปิดรวมกัน
แบบทดสอบ (Test) เป็นชุดคำถามที่สร้างขึ้นเพื่อนำไปวัดความรู้ ทักาะความสามารถ หรือสมรรถภาพสมองในด้านต่างๆ
2.1แบบทดสอบที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น
2.2แบบทดสอบมาตรฐาน
แบบสัมภาษณ์ เป็นวิธีการสองทาง มีการสนทนากันระหว่างผู้ถามกับผู้ตอบ
3.1การสัมภาษณ์เป็นรายบุคคลกับกลุ่ม
3.2การสัมภาษณ์แบบกำหนดคำตอบล่วงหน้ากับไม่มีคำตอบล่วงหน้า
3.4การสัมภาษณ์แบบหยั่งลึกกับแบบเน้นจุด
3.5การสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์กับการสัมภาษณ์ซึ่งหน้า
แบบสังเกตุ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ การก็บข้อมูลโดยผู้วิจัยได้เฝาดูปรากฏการณ์บางอย่างที่เกิดขึ้นในกลุ่มผู้ถูกสังเกตุอย่างตั้งใจ
4.1การสังเกตุแบบมีโครงสร้าง
4.2การสังเกตุแบบไม่มีโครงสร้าง
ลักษณะการนำเครื่องมือไปใช้
1.การสอบถาม หรือสัมภาษณ์ด้วยตัวเองหรือผู้ช่วยวิจัย
ข้อดี ได้รับการตอบกลับ และการได้ข้อมูลครบถ้วน
ข้อจำกัด เสียงบประมาณและเวลา
2.การส่งทางไปรษณีย์ หรือ ทาง Email
ข้อดี ประหยัดงบประมาณและเวลา
ข้อจำกัด อัตราการส่งกลับต่ำ
3.การปิดให้ทำทางคอมพิวเตอร์หรือการทำทางออนไลน์
ข้อดี ประหยัดงบประมาณและเวลา
ข้อจำกัด อัตราการได้ข้อมูลต่ำ และควบคุมคุณสมบัติผู้ตอบไม่ได้
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ความตรง (Validity) คุณลักษณะเครื่องมือ สามารถวัดตัวแปรที่ต้องการวัดได้ตรง ครบถ้น ทั้งเนื้อหา วัตถุประสงค์ หรือโครงสร้างการวัดค่าความตรง
1.1ดัชนีความสอดคล้อง ดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามแต่ละข้อกับจุดประสงค์
1.2ดัชนีความตรงตามเนื้อหา ความหมายเหมือนกับดัชนีความสอดคล้อง แต่แตกต่างที่สูตรการ คำนวณค่า และ ดัชนีความตรงตามเนื้อหา
2.ความเที่ยงตรง (Reliability) แสดงถึงความคงเส้นคงวาของการวัด
3.ค่าความยาก และอำนาจจำแนก ค่าความยากง่าย เป็นการวัดเชิงปริมาณ เช่นแบบทดสอบ
4.ความปรนัย ความชัดเจนของแบบวัดหรือคำถามที่ทุกคนเข้าใจตรงกัน รวมทั้งการตรวจให้คะแนนมีเกณฑ์ที่แน่นอน
องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อความเชื่อมั่น
1.ความสามารถในกลุ่มตัวอย่าง
2.ระดับความสามารถของผู้ตอบ
3.ระดับความยากของแบบวัด ยากหรือง่ายเกินไป
4.จำนวนข้อของแบบวัด
5.ความคล้างคลึงของเนื่อหาที่ออกข้อสอบ
6.ข้อสอบแบบรีบเร่ง
7.ตัวอย่างประชากรที่ใช้ทดลอง