Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Uterine Rupture - Coggle Diagram
Uterine Rupture
แนวทางการรักษา
3.การผ่าตัด
ถ้าเย็บซ่อมแซมได้และไม่ต้องการมีบุตรให้ทาหมัน
กรณีที่เย็บซ่อมแซมไม่ได้ตัดมดลูกทิ้ง
ในรายที่รอยแตกไม่มาก ไม่กระรุ่งกระริ่งและผู้คลอดต้องการมีบุตรอีก
4.ให้ยาปฏิชีวนะ
2.เตรียมผู้คลอดC/S
5.กรณีที่ทารกเสียชีวิตต้องดูแลสุขภาพจิตผู้คลอดและครอบครัว
1.ถ้ามดลูกแตกแล้ว มีภาวะช็อค ให้ RLS, RLS,
สาเหตุ
มดลูกแตกจากการได้รับการกระทบกระเทือน
มดลูกแตกจากรอยแผลเดิม เช่น P/S
มดลูกแตกเอง เช่น CPD
การพยาบาล
ทั่วไป
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน และเลือดตามแผนการรักษา
ประเมินเลือดที่ออกทางช่องคลอด
ประเมินV/S และFHS ทุก 5นาที
เตรียมผู้คลอดให้พร้อมC/S
NPO และให้ IV fluid
เฝ้าดูแลความก้าวหน้าของการคลอดอย่างใกล้ชิด
ประเมินและวินิจฉัยปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะมดลูกแตกในผู้คลอด
P/S แนะนาให้เว้นระยะมีบุตร อย่างน้อย 2 ปี
เตรียมอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพ
เมื่อเกิดภาวะมดลูกแตก
เฝ้าระวังภาวะตกเลือด
ปลอบโยนให้กาลังใจผู้คลอดและครอบครัวและเปิดโอกาสให้พูดแสดงความรู้สึกหรือซักถามในกรณีที่สูญเสียบุตร
ดูแลให้ ATB
ชนิด
complete uterine ruptured
การฉีกขาดของมดลูกทั้ง 3 ชั้นของผนังมดลูก และแตกทะลุชั้นเยื่อบุช่องท้อง ทารกจึงหลุดออกไปอยู่ในช่องท้องบางส่วนหรือทั้งหมด
incomplete uterine ruptured
การฉีกขาดของมดลูกชั้นเยื่อบุมดลูก, กล้ามเนื้อมดลูก แต่ไม่ทะลุชั้นเยื่อบุช่องท้อง ทารกยังอยู่ภายในโพรงมดลูก มักเกิดกับรอยแผลเก่าบนผนังมดลูก
อาการและอาการแสดง
ก่อนมดลูกแตก
การคลอดไม่ก้าวหน้า
มองเห็นหน้าท้องเป็นBandl’s rings
กระสับกระส่าย PR เบาเร็ว RR ไม่สม่าเสมอ
เจ็บปวดบริเวณท้องน้อยอย่างรุนแรง
มีการหดรัดตัวถี่และรุนแรงของมดลูก
fetal distress อาจพบ FHS ไม่สม่าเสมอ
อาจมีเลือดออกทางช่องคลอด
เมื่อมดลูกแตกแล้ว
ถ้ามดลูกแตกขณะเจ็บครรภ์ อาการเจ็บครรภ์จะหายไป
อาจพบว่ามีเลือดออกทางช่องคลอดจานวนเล็กน้อย
คลาพบส่วนของทารกชัดเจนขึ้น
เจ็บปวดมดลูกส่วนล่างรุนแรงและรู้สึกมีการฉีกขาดของอวัยวะภายใน
ท้องโป่งตึงและปวดรุนแรง จากเลือด น้าคร่า ทารก ระคายเยื่อบุช่องท้อง
FHS เปลี่ยนแปลงหรือหายไป
pvพบส่วนนาลอยอยู่สูงขึ้นจากเดิม
มีภาวะ Hypovolemic shock