Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์ :!!: - Coggle Diagram
ภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์ :!!:
ภาวะมดลูกแตก (Uterine Rupture)
ความหมาย
การฉีกขาด แยก แตก หรือการทะลุของมดลูกขณะตั้งครรภ์ ขณะเจ็บครรภ์คลอด/ขณะคลอด หลังจากที่ทารกโตพอที่จะมีชีวิตอยู่ได้ไม่นับการแตกของมดลูกที่ไม่ได้ตั้งครรภ์
สาเหตุ
มดลูกแตกเอง เช่น CPD
มดลูกแตกจากการได้รับการกระทบกระเทือน
มดลูกแตกจากรอยแผลเดิม เช่น P/S
ชนิด
มดลูกแตกตลอด/แตกชนิดสมบูรณ์ (complete uterine ruptured) การฉีกขาดของมดลูกทั้ง 3 ชั้น ของผนังมดลูกและแตกทะลุชั้นเยื่อบุช่องท้อง ทารกจะหลุดออกไปอยู่ในช่องท้องบางส่วน/ทั้งหมด
มดลูกแตกบางส่วน (incomplete uterine ruptured) การฉีกขาดของมดลูกชั้นเยื่อบุมดลูก กล้ามเนื้อมดลูก แต่ไม่ทะลุชั้นเยื่อบุช่องท้อง ทารกยังอยู่ภายในโพรงมดลูก มักเกิดกับรอยแผลเก่าบนผนังมดลูก
อาการและอาการแสดงก่อนมดลูกแตก
เจ็บปวดบริเวณท้องน้อยอย่างรุนแรง
กระสับกระส่าย PR เบาเร็ว RR ไม่สม่ำเสมอ
การคลอดไม่ก้าวหน้า
มองหน้าท้องเป็น Bandl's ring
มีการหดรัดตัวถี่และรุนแรงของมดลูก
Fetal distress อาจพบ FHS ไม่สม่ำเสมอ
อาจมีเลือดออกทางช่องคลอด
อาการและอาการแสดงเมื่อมดลูกแตก
เจ็บปวดมดลูกส่วนล่างรุนแรง
คลำพบส่วนของทารกชัดเจนขึ้น
อาการเจ็บครรภ์จะหายไป
อาจมีเลือดออกทางช่องคลอด
ท้องโป่งตึงและปวดรุนแรง
FHS เปลี่ยนแปลง/หายไป
PV พบส่วนนำลอยอยู่สูงขึ้นจากเดิม
มีภาวะ Hypovolemic shock
แนวทางการรักษา
ถ้ามดลูกแตกแล้ว มีภาวะช็อค ให้ RLS เลือดทดแทนและออกซิเจนอย่างเพียงพอ
เตรียมผู้คลอด C/S
ผ่าตัด
ให้ยา ATB
การพยาบาล
เน้นการป้องกันมากกว่าแก้ไข
ประเมินและวินิจฉัยปัจจัยเสี่ยง
เฝ้าดูความก้าวหน้าของการคลอดอย่างใกล้ชิด รายงานแพทย์ C/S
สังเกตอาการและอาการแสดงก่อนมดลูกแตก หากมีรีบรายงานแพทย์ทันที
เมื่อเกิดภาวะมดลูกแตก
NPO และให้ IV fluid
ประเมิน V/S และ FHS ทุก 5 นาที
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน และเลือดตามแผนการรักษา
ประเมินเลือดที่ออกทางช่องคลอดและอาการของภาวะช็อก
เตรียมผู้คลอด C/S
เตรียมอุปกณ์ช่วยฟื้นคืนชีพ และรายงานกุมารแพทย์
ดูแลให้ ATB
เฝ้าระวังภาวะตกเลือด
ปลอบโยนให้กำลังใจ
Umbilical cord prolapsed
Risk Factors
ปัจจัยทั่วไปของมารดาและทารกที่ทำให้ส่วนนำไม่ Fix ก่อน rupture membrane
Multiparity
Low birth weight
Prematurity
Fetal congenital anomalies
Breech presentation
Malpresentation, transverse, oblique, unstable lie
Polyhydramnios
Low placenta
Procedure related
การเจาะถุงน้ำคร่ำ
การหมุนเปลี่ยนท่าทารกทางหน้าท้อง
การหมุดเปลี่ยนท่าทารกในโพรงมดลูก
การหมุนศีรษะทารก
การใส่น้ำคร่ำ/การเจาะน้ำคร่ำออก
การป้องกัน
ค้นหาปัจจัยเสี่ยง
ไม่เจาะน้ำคร่ำถ้าส่วนนำยังอยู่สูง
ลักษณะทางคลินิกและการวินิจฉัย
พบ severe, prolong fetal bradycardia หรือ moderated to severe variable deceleration
ตรวจภายในพบสายสะดือ หรือ pulsating cord
เห็นสายสะดือออกมาจากช่องคลอด
อาจพบ early DC ใน occult UCP
การดูแลรักษา
การดันส่วนน าของทารกขึ้น (Elevated of the presentation) ป้องกัน mechanical vascular occlusion
Manual elevation ใช้สองนิ้วสอดในช่องคลอด แล้วดันส่วนนำขึ้นด้านบน แล้วทำcontinuous suprapubicpressure จะเอามือออกเมื่อจะคลอด
Bladder filling ใส่สายสวนปัสสาวะแล้วใส่น ้าเกลือ 500-750 mL แล้วหนีบสายไว้จัดผู้ป่วยในท่า Trendelenburgposition ใช้ในกรณี ต้อง refer หรือ เตรียม C/S นาน
MateranalPosiotion: Knee –chest position หรือ head –down tilt หรือ exaggerneratedSim s position
การให้ยาคลายการหดรัดตัวของมดลูก(tocolytic) turbutaline
0.25 mg subcutaneously ใช้ในกรณีที่รอคลอดนาน หรือ ส่งต่อ
การดันสายสะดือ (Funic reduction) ยังถกเถียงกันอยู่ ไม่
แนะนำ
Knee chest position
Exaggerated Sim’s position
สรุปขั้นตอนการดูแล prolapsed cord
Overt prolapse
จัดท่า knee chest position
หลีกเลี่ยงการแตะต้องสายสะดือ
ให้ oxygen
หยุด oxytocin ถ้ามี
ให้คำอธิบายแก่ผู้ป่วยและญาติ
ติดตาม บันทึก เสียงหัวใจทารกในครรภ์
Overt UCP
ผ่าตัดคลอดเร็วที่สุด
ฉีด terbutaline0.25 mg SC.
คลอดทางช่องคลอดถ้า ปากมดลูกเปิดหมด
ส่วนนำอยู่ต่ำ ประเมินแล้วคลอดทางช่องคลอดได้ คลอดโดยvacuum extraction หรือ Forceps extraction
เตรียม neonatal resuscitation
ถ้าลูกเสียชีวิต ให้คลอดทางช่องคลอด
ภาวะรกค้าง รกติด
ความหมาย
รกค้าง ( retained placenta) ภาวะที่รกไม่ลอกตัว/คลอดออกมาภายใน 30 นาทีหลังทารกคลอด
รกติด ( placenta accreta) ภาวะที่รกมีการฝังตัวลึกกว่าชั้นปดติ อาจฝังตัวลึกถึงชั้นกล้ามเนื้อมดลูก ทำให้ไม่สามารถคลอดรกได้
ชนิด
placenta accrete ชนิดที่ trophoblast ฝังตัวลงไปตลอดชั้น spongiosa ของเยื่อบุมดลูกอาจทั้งหมด/เพียงบางส่วน แต่ไม่ผ่านลงไปถึงชั้นกล้ามเนื้อ
placenta increta ชนิดที่ trophoblast ฝังตัวลึกผ่านลงไปถึงชั้นกล้ามเนื้อมดลูก แต่ไม่ถึงชั้นserosa
placenta percreta ชนิดที่ trophoblast ฝังตัวลึกทะลุชั้นกล้ามเนื้อมดลูกจนถึงserosa
ปัจจัยเสี่ยง
มารดาอายุมาก
ตั้งครรภ์หลายครั้ง
เคยมีรกติดเเน่นในครรภ์ก่อน
ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องหลายครั้ง
รกเกาะต่ำ
เคยมีแผลผ่าตัดที่ตัวมดลูก/เคยขูดมดลูกมาก่อน
อาการและอาการแสดง
ไม่มีอาการแสดงของรกลอกตัว / มีเพียงเล็กน้อยไม่ชัดเจน ระยะหลังรกคลอดนาน 30 นาที
มดลูกหดรัดตัวไม่ดีหลังคลอด
มีเลือดอกกทางช่องคลอดจำนวนมาก ภายหลังคลอดรก
ตรวจพบว่ามีบางส่วนของเนื้อรก/ membrane ขาดหายไป
มารดามีอาการกระสับกระส่าย ชีพจรเบาเร็ว ตัวซีดเย็น เหงื่อออก BPต่ำลง ระดับความรู้สึกตัวลดลง อาจช็อค
แนวทางการรักษา
รกไม่คลอดนานเกิน30นาที พิจารณาให้ oxytocin 10 unit เข้ากล้ามเนื้อ และทำ controlled traction หากทำแล้วรกยังไม่คลอดรายงานแพทย์เพื่อล้วงรก
การพยาบาล
ภายหลังล้วงรกประเมินการหดรัดตัวของมดลูก จำนวนเลือดออกและสัญญาณชีพ เพื่อประเมินภาวะตกเลือด และดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่าง
ติดตามประเมินการติดเชื้อและภาววะตกเลือดในระยะหลังคลอด ประเมินระดับยอดมกดลูก ลักษณะน้ำคาวปลา ติดตามสัญญาณชีพ