Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เทคโนโลยี และยาที่ใช้บ่อยใน ICU - Coggle…
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เทคโนโลยี
และยาที่ใช้บ่อยใน ICU
เครื่องช่วยหายใจ
ข้อบ่งชี้การใช้เครื่องช่วยหายใจ
oxygenation failure
ventilation failure
diaphragm fatigue
ระบบไหลเวียนโลหิตในร่างกายผิดปกติ
ชนิดของเครื่องช่วยหายใจ
Non-invasive
positive ventilator
หมายถึง เครื่องช่วยหายใจที่ให้การช่วยหายใจผู้ป่วยที่ไม่มีท่อทางเดินหายใจ
ไม่เหมาะสําหรับผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพของปอดที่รุนแรง
ชนิดของ NPPV แบ่งเป็น2 แบบ คือ Continuous positive airway pressure (CPAP) และ Bilevel Positive Airway Pressure (BiPAP)
เหมาะสําหรับผู้ป่วยหายใจล้มเหลวแบบเรื้อรัง สําหรับใช้ที่บ้านหรือใช้ในเวลากลางคืนและใช้ในรายที่ถอดท่อช่วยหายใจ
Invasive
positive ventilator
หมายถึง เครื่องช่วยหายใจประเภทความดันบวกที่ใส่ท่อช่วยหายใจ
เป็นการอัดอากาศเข้าไปในปอดผ่านทาง endotracheal tube หรือ tracheostomy โดยใช้แรงดันบวก
การแบ่งประเภทของเครื่องช่วยหายใจ
Control mandatory ventilation
หรือ Assist/control ventilation
เป็นวิธีช่วยหายใจที่การหายใจทุกครั้งถูกกําหนดด้วยเครื่องช่วยหายใจทั้งหมดโดยผู้ป่วยไม่มีการหายใจเองเลย
Synchronized Intermittent mandatory ventilation (SIMV)
เป็นวิธีช่วยหายใจที่มีทั้งการหายใจเองและการหายใจด้วยเครื่องช่วยหายใจ โดยผู้ป่วยสามารถหายใจเองได้ในระหว่างการช่วยหายใจด้วยเครื่อง
Spontaneous ventilation
การหายใจที่ผู้ป่วยเป็นผู้เริ่มการหายใจเอง เป็นผู้กําหนดระยะเวลาและปริมาตรอากาศที่หายใจเข้าด้วยตนเองทั้งหมด
แบ่งเป็น
Continuous positive airway pressure (CPAP)
Pressure support ventilator (PSV)
การหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ขั้นตอนที่ 1
ก่อนหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ผู้ป่วยหายใจเองทาง T piece หรือหายใจเองสลับกับเครื่องช่วยหายใจเป็นพักๆ
หากผู้ป่วยไม่มีข้อบ่งชี้ในการใช้เครื่องช่วยหายใจและไม่มีความจําเป็นในการใช้ท่อช่วยหายใจก็สามารถถอดท่อช่วยหายใจได้
ขั้นตอนที่ 2
ขณะหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ควรเริ่มหย่าเครื่องช่วยหายใจในตอนเช้าหลังจากผู้ป่วยพักผ่อนเต็มที่ในเวลากลางคืน
วัดสัญญาณชีพและความเข้มข้นของออกซิเจนปลายนิ้ว (Oxygen saturation) ก่อน ขณะการหย่าเครื่องช่วยหายใจ ทุก 5-10 นาที
เฝ้าระวังอาการเปลี่ยนแปลงทุก 15 นาทีถึง 1 ชั่วโมง เพื่อประเมินภาวะขาดออกซิเจน
ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่สามารถหย่าเครื่องช่วยหายใจโดย T piece 10 ลิตร/นาที ต่อไปได้ ให้ต่อท่อช่วยหายใจเข้ากับเครื่องช่วยหายใจ setting ก่อนหน้าที่จะหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ขั้นตอนที่ 3
หลังหย่าเครื่องช่วยหายใจ
จัดท่าผู้ป่วยท่านั่งศีรษะสูง
ให้ O2 mask with collugate 10 ลิตร/นาที เป็นเวลา 2 ชั่วโมง หลังจากนั้นเป็น O2 cannula 3-6ลิตร/นาที
วัดสัญญาณชีพทุก 15 นาที ทุก 30 นาทีและทุก 1 ชั่วโมงจนกว่าจะคงที่และเฝ้าระวังอาการของผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีสายสวนหลอดเลือด
(central line monitor)
arterial line
ตรวจสอบความแม่นยําของการปรับเทียบค่า (Accuracy )
Levelling the transducer จัดตําแหน่ง transducer ให้อยู่ในตําแหน่ง phlebostatic axis
Zeroing the transducer เป็นการปรับ transducer กับความดันบรรยากาศ
ดูแลระบบของ arterial line ให้มีประสิทธิภาพ
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน ได้แก่ การติดเชื้อ (infection) การเกิดเนื้อตาย (Skin necrosis) Air embolization ภาวะที่มีเลือดออกในเนื้อเยื่อ (Hematoma) และการไหลเวียนของเลือดไปเลี้ยงอวัยวะส่วนปลายลดลง (limb ischemia)
Central venous pressures; CVP
ความแม่นยําของการเปรียบเทียบค่า
Levelling the transducerตําแหน่ง 4th intercostal space ตัดกับ
mid anterior-posterior line
Zero the transducer เป็นการปรับ transducer กับความดันบรรยากาศ
ป้องกันการเลื่อนหลุดของสายสวน
ป้องกันการติดเชื้อในกระแสเลือดจากการใส่สายสวนหลอดเลือดดําส่วนกลาง
ป้องกันการอุดตันของสายสวน
การป้องกันฟองอากาศเข้าหลอดเลือดโดยดูแลให้เป็นระบบปิด ป้องกันการเลื่อนหลุดของสาย
ยาที่ใช้บ่อยในผู้ป่วยวิกฤต
(common drugs used in ICU)
ยาที่ใช้ในภาวะ Pulseless Arrest
Epinephrine หรือ adrenaline 1 mg/ ml/ ampule (1: 1,000)
ใช้เป็นยาตัวแรกในการทํา CPR ทั้งในภาวะ systole/PEA
และ VF/pulseless VT
ใช้ในภาวะ symptomatic bradycardia ที่ไม่ตอบสนองต่อการให้ atropine
Amiodarone (Cordarone®)
ยารักษาหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิด Atrial fibrillation
และ Atrial flutter
หัวใจห้องล่างเต้นผิดจังหวะชนิด Ventricular fibrillation (VF)
และ Ventricular tachycardia (VT)
ยาที่ใช้ในภาวะ Bradyarrhythmia
Atropine
ใช้แก้ไขภาวะหัวใจเต้นช้าผิดปกติและ AV block
ยาที่ใช้ในภาวะ Tachyarrhythmia
Adenosine
ใช้เป็น first line drug ในภาวะ Stable narrow complex tachycardia (reentry SVT) หรือในภาวะ unstable narrow complex regular tachycardia แต่ต้องเตรียมพร้อมทํา cardioversion ไว้ด้วย
ภาวะ regular monomorphic wide complex tachycardia
Digoxin (Lanoxin ®)
Heart failure
หัวใจเต้นผิดจังหวะแบบ atrial fibrillation (AF), atrial flutter และ supraventricular Tachycardia (SVT)
ยากระตุ้นความดันโลหิต (Vasopressor)
Dopamine (Inopin®)
ขนาดต่ํา ใช้ในผู้ป่วยที่ปัสสาวะออกน้อย เพื่อเพิ่มการไหลเวียนเลือดที่ไต (renal blood flow) และสมอง
ขนาดปานกลาง เพิ่มการบีบตัวของหัวใจ เพิ่ม Cardiac out put
ขนาดสูง ทําให้หลอดเลือดหดตัว เพิ่มความดันโลหิตและอัตราการเต้นของหัวใจใช้รักษาผู้ป่วยที่มีภาวะ shock จากการติดเชื้อในกระแสเลือด
Dobutamine
ใช้เพิ่ม cardiac output ในผู้ป่วยหัวใจวาย หรือ cardiogenic shock
Norepinephrine (Levophed®) กลุ่ม Adrenergic agonist
การนําไปใช้รักษาผู้ป่วยที่มีภาวะseptic shock และ cardiogenic shock ระดับรุนแรง หรือภาวะ shock หลังจากได้รับสารน้ําเพียงพอแล้ว
ยาขยายหลอดเลือด (Vasodilators)
Nicardipine
ในผู้ป่วยที่มีภาวะ Hypertensive crisis
Sodium Nitroprusside
ใช้ในการลดความดันโลหิตในผู้ป่วย hypertensive emergency
ลด afterload ในภาวะหัวใจวายเฉียบพลัน
Nitroglycerin (NTG)
Acute coronary syndrome, Chest pain (angina pectoris)
Heart failure โดยช่วยในการลด preload
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลด้านจิตใจ
จะวิตกกังวลเกี่ยวกับอาการเจ็บป่วยของตนเอง บางรายรู้สึกท้อแท้ ต้องพึ่งพาผู้อื่นตลอดเวลา การไม่สามารถสื่อสารกับผู้อื่นทางคําพูดได้ ทําให้ผู้ป่วยเกิดความคับข้องใจ
การดูแลด้านร่างกาย
การดูแลท่อหลอดลมและความสุขสบายในช่องปากของผู้ป่วย
การป้องกันไม่ให้เกิดการอุดกั้นของทางเดินหายใจ
ประเมินสภาพผู้ป่วยและภาวะแทรกซ้อน สัญญาณชีพ ต้องประเมินทุก 1 ชั่วโมง ระดับความรู้สึกตัว ความรู้สึกที่ผิดปกติเสียงการหายใจที่เปลี่ยนแปลงไป
การดูแลให้เครื่องช่วยหายใจทํางานอย่างมีประสิทธิภาพ และดูแล Tubing system ของเครื่องช่วย
หายใจให้เป็นระบบปิด
การป้องกันภาวะปอดแฟบ
การติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่สําคัญ