Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เทคโนโลยี และยาที่ใช้บ่อยใน ICU -…
บทที่ 5
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เทคโนโลยี และยาที่ใช้บ่อยใน ICU
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจและการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
การรักษาประคับประคองผู้ป่วยที่มีภาวะระบบหายใจล้มเหลว
ระบบไหลเวียนล้มเหลว
ช่วยหายใจแบบแรงดันบวก
“positive mechanical ventilator”
คำศัพท์สำคัญที่เกี่ยวข้องกับเครื่องช่วยหายใจ
Tidal volume (VT)
ปริมาตรอากาศที่หายใจเข้าและออกจากปอดใน 1 ครั้ง
หน่วยเป็นมิลลิลิตร
ค่าปกติ 6-8 มิลลิลิตร/น้ำหนักตัว 1กิโลกรัม
Respiratory rate (RR)
อัตราการหายใจสำหรับผู้ใหญ่ 12-20 ครั้ง/นาที
Minute volume (MV)
ปริมาตรลมหายใจออกทั้งหมดใน 1 นาที
หน่วยเป็นลิตร/นาที
Peak flow (PF)
อัตราการไหลของอากาศเข้าสู่ปอดมีหน่วยเป็นลิตร/นาที
เป็นการควบคุมช่วงระยะเวลาหายใจเข้า
Inspiratory time: Expiratory time (I:E)
อัตราส่วนระหว่างเวลาที่ใช้ในการหายใจเข้าต่อเวลาที่ใช้ในการหายใออก
ตั้ง 1 ต่อ 2 หรือ 1 ต่อ 3 ขึ้นอยู่กับพยาธิสภาพของปอด
Sensitivity
ความไวของเครื่องที่ผู้ป่วยต้องออกแรงกระตุ้นเครื่อง
เพื่อเริ่มต้นการหายใจเข้า
Fraction of Inspired Oxygen (Fio2)
ระดับความเข้มข้นของออกซิเจนในอากาศที่เครื่องปล่อยเข้าผู้ป่วย
ตั้งแต่ 21-100 % (ความเข้มข้นของออกซิเจน 40% หมายถึง Fio2 0.4)
Positive End
Expiratory Pressure (PEEP)
ความดันในช่วงหายใจออกสุดท้ายมีแรงดันบวกค้างไว้ในปอดตลอดเวลา
ป้องกันปอดแฟบ (Atelectasis) คือจะมีลมค้างอยู่และเพิ่มพื้นที่ในการแลกเปลี่ยนก๊าซ
ข้อบ่งชี้การใช้เครื่องช่วยหายใจ
ภาวะพร่องออกซิเจน (oxygenation failure)
เครื่องช่วยหายใจจะช่วยให้ผู้ป่วยลดการใช้ออกซิเจน
ลดการทำงานของกล้ามเนื้อที่ใช้ในการหายใจ
กระบังลม
กล้ามเนื้อหน้าท้อง
กล้ามเนื้อช่องอกและกล้ามเนื้อคอ
ความล้มเหลวของการระบายอากาศ (ventilation failure)
ปริมาณการสร้างคาร์บอนไดออกไซด์มากกว่าการระบายออกของระบบทางเดินหายใจ
จึงเกิดภาวะของความเป็นกรดในเลือด (respiratory acidosis)
จากการที่มีคาร์บอนไดออกไซด์ในกระแสเลือดที่มากกว่าปกติ
กล้ามเนื้อกะบังลมไม่มีแรง (diaphragm fatigue)
ได้รับยาที่กดศูนย์หายใจ
ความผิดปกติของระบบประสาทส่วนกลางหรือระบบประสาทส่วนปลาย
Guillain-Barre syndrome
myasthenia gravis
ความผิดปกติของผนังทรวงอกและภาวะอ้วน
ระบบไหลเวียนโลหิตในร่างกายผิดปกตb
ทำให้เลือดกลับสู่หัวใจลดลง (decrease preload) ในขณะที่ลดแรงตึงของผนังกล้ามเนื้อ
หัวใจขณะบีบตัว (decrease afterload)
อาการของผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวของหัวใจห้องซ้ายดีขึ้น
ชนิดของเครื่องช่วยหายใจ
Non-invasive positive ventilator; NPPV
ความดันบวกที่ไม่ใส่ท่อช่วยหายใจ
ภาวะกรดจากการหายใจ
ลดอัตราการหายใจแต่จะควบคุมการแลกเปลี่ยนก๊าซได้ไม่ดีเท่าเครื่องช่วยหายใจประเภทความดันบวกที่ใส่ท่อช่วยหายใจ
ไม่เหมาะสำหรับผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพของปอดที่รุนแรง
การดูแลเกี่ยวกับการขับเสมหะลำบากกว่า
เสี่ยงต่อการสำลักและผู้ป่วยต้องให้ความร่วมมือ
เกิดภาวะท้องอืดได้ง่าย
แบ่งเป็น 2 แบบ
Continuous positive airway pressure (CPAP)
Bilevel Positive Airway Pressure (BiPAP)
เหมาะสำหรับผู้ป่วยหายใจล้มเหลวแบบเรื้อรัง
สำหรับใช้ที่บ้าน
ใช้ในเวลากลางคืนและใช้ในรายที่ถอดท่อช่วยหายใจ
Invasive positive ventilator; IPPV
เครื่องช่วยหายใจประเภทความดันบวกที่ใส่ท่อช่วยหายใจ
ใช้มากที่สุดในภาวะวิกฤต
การอัดอากาศเข้าไปในปอดผ่านทาง endotracheal tube
tracheostomy tube
การแบ่งประเภทของเครื่องช่วยหายใจ (Mode of ventilator)
Control mandatory ventilation (CMV) หรือ Assist/control (A/C) ventilation
การหายใจทุกครั้งถูกกำหนดด้วยเครื่องช่วยหายใจทั้งหมด
อัตราการหายใจสูงกว่าอัตราที่เครื่องตั้งไว้ เครื่องจะไม่มีการช่วยหายใจ
ผู้ป่วยได้รับยานอนหลับหรือร่วมกับยาหย่อนกล้ามเนื้อ
A/C ventilation
การหายใจเองแล้วเครื่องช่วย เรียกว่า assisted breath
ผู้ป่วยไม่ได้เริ่มหายใจเอง เรียกว่าmandatory breath หรือ control breath
Synchronized Intermittent mandatory ventilation (SIMV)
หายใจเองและการหายใจด้วยเครื่องช่วยหายใจ
ผู้ป่วยสามารถหายใจเองได้
Spontaneous ventilation
ที่ผู้ป่วยเป็นผู้เริ่มการหายใจเอง
กำหนดระยะเวลาและปริมาตรอากาศที่หายใจเข้าด้วยตนเองทั้งหมด
3.1 Continuous positive airway pressure (CPAP)
หายใจระดับเดียวกันทั้งในช่วงหายใจเข้าและออก
obstructive sleep apnea
3.2 Pressure support ventilator (PSV)
เครื่องจะช่วยจ่ายก๊าซเพื่อให้ได้ระดับความดันตามที่ตั้งไว้
จะหยุดจ่ายอากาศเมื่อผู้ป่วยไม่ต้องการแล้ว
มักใช้ในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
tidal volume
respiratory rate และ
inspiratory time PSV
ภาวะแทรกซ้อนจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ
ผลต่อระบบหัวใจและไหลเวียนเลือด
แรงดันในช่องอกสูงขึ้นกว่าปกติ
เลือดดำไหลกลับหัวใจลดลง
ปริมาตรเลือดแดงที่ส่งออกจากหัวใจ (cardiac output)
ลดลง
การบาดเจ็บของปอดจากการใช้ปริมาตรการหายใจที่สูงเกินไป (Pulmonary volutrauma)
ความดันคงค้างในถุงลมปอดมากกว่า 35 เซนติเมตรน้ำ
ทำให้ถุงลมถ่างขยายมากเกินไป
เยื่อบุผิวถุงลมและหลอดเลือดฝอยสูญเสียหน้าที่ทำให้เกิดปอดบวมน้ำเฉียบพลัน
เกิดการทำลายถุงลมในที่สุด
ภาวะถุงลมปอดแตก (Pulmonary barotrauma)
การค้างความดันในช่วงหายใจออกให้เป็นบวก
ลมที่รั่วออกมาจะกระจายเข้าสู่เนื้อเยื่อหรืออวัยวะต่าง ๆ
การบาดเจ็บของทางเดินหายใจ (Artificial airway complication)
ผู้ป่วยที่ใส่ท่อหลอดลมคอเป็นเวลานาน
การทะลุต่อกันของหลอดลมและหลอดอาหาร หลอดลมตีบ
ภาวะปอดแฟบ (Atelectasis)
ตั้งปริมาตรการหายใจต่ำและไม่มีการตั้งถอนหายใจ (sigh)
ควรช่วยหายใจด้วยมือ (manual hyperinflation)
ค่อยๆบีบเข้าช้า ๆ
การเกิดปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ (Ventilator Associated Pneumonia; VAP)
เครื่องช่วยหายใจนานเกิน 48 ชั่วโมง
การติดเชื้อที่ปอดจากการใส่เครื่องช่วยหายใจ
ภาวะพิษจากออกซิเจน (Oxygen toxicity)
ความเข้มข้นของออกซิเจนมากกว่า 0.6นานเกิน 24-48 ชั่วโมงขึ้นไป
ทำลายของเนื้อปอดได้
ระบบทางเดินอาหาร
การเกิดแผลหรือภาวะเลือดออกในทางเดินอาหาร
การได้รับยาสงบประสาทหรือยาแก้ปวด
ผลต่อภาวะโภชนาการ
ร่างกายต้องนำกลูโคสที่สะสมที่ตับมาใช้เพื่อนำไปใช้ในการสังเคราะห์
น้ำตาล
มีผลเสียต่อการทำงานหลายระบบ รวมทั้งระบบภูมิคุ้มกัน
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลด้านจิตใจ
แจ้งให้ทราบทุกครั้งเมื่อต้องให้การพยาบาล
ดูแลด้านจิตใจของครอบครัวและญาติของผู้ป่วย
การดูแลด้านร่างกาย
1) ประเมินสภาพผู้ป่วยและภาวะแทรกซ้อน
สัญญาณชีพต้องประเมินทุก 1 ชั่วโมง
ระดับความรู้สึกตัว ความรู้สึกที่ผิดปกติ
ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
รายงานแพทย์ทันที
Tension pneumothorax, Subcutaneous
emphysema, Stress ulcer ซึ่งจะมีเลือดออกจากกระเพาะอาหาร ท้องอืด ลำไส้ไม่ทำงาน ถ้าเกิดขึ้นต้อง
2) การดูแลท่อหลอดลมและความสุขสบายในช่องปากของผู้ป่วย
3) การป้องกันไม่ให้เกิดการอุดกั้นของทางเดินหาย
ดูดเสมหะด้วยเทคนิคปราศจากเชื้อ (sterile technique)
สุญญากาศ 80-120 มิลลิเมตรปรอท
4) การดูแลให้เครื่องช่วยหายใจทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ
Tubing system ของเครื่องช่วยหายใจให้เป็นระบบปิด
ไม่ให้มีน้ำขังอยู่ตามสายของเครื่อง
5) การป้องกันภาวะปอดแฟบ
การถอนหายใจ หรือการหายใจเข้าลึกๆ
6) การติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่สำคัญ
Electrolyte imbalance
ค่าก๊าซในหลอดเลือดแดง (ABGs)
ประเมินภาวะความเป็นกรดด่างของร่างกาย
ภาวะพร่องออกซิเจนในเลือด
ภาวะคาร์บอนไดออกไซด์คั่ง
การปรับตั้งเครื่องช่วยหายใจให้เหมาะสม
การหย่าเครื่องช่วยหายใจ (Weaning)
การติดตามและการเฝ้าระวังขณะหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ขั้นตอนการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ขั้นตอนที่ 1 ก่อนหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ประเมินความพร้อมของผู้ป่วย
โรคหรือสาเหตุที่ผู้ป่วยต้องใส่เครื่องช่วยหายใจหายหรือทุเลาลง
มีการแลกเปลี่ยนก๊าซเพียงพอ ค่า PaO2>60 มม.ปรอท FiO2
ไม่เกิน 0.4
ค่า PEEP น้อยกว่า 5 เซนติเมตรน้ำ
ผู้ป่วยรู้สึกตัวและทำตามคำสั่ง
สัญญาณชีพปกติ อุณหภูมิ<38 องศาเซลเซียส อัตราการเต้นของหัวใจ <100 ครั้ง/นาที อัตราการ
หายใจ< 30 ครั้ง/นาทีระดับความดันซิสโตลิก 90-160 มม.ปรอท
ค่า Spontaneous tidal volume เมื่อถอดเครื่องช่วยหายใจแล้ว มากกว่า 5 มิลลิลิตรต่อน้ำหนักตัว1 กิโลกรัม
ความสามารถในการหายใจเองของผู้ป่วย
คำนวณได้จากอัตราการหายใจครั้ง/นาที
หารด้วยค่า Spontaneous tidal volume หน่วยเป็นลิตร
เรียกว่า Rapid shallow breathing index หรือ Rate Volume Ratio (RVR) <105 จึงจะมีโอกาสเอาเครื่องช่วยหายใจออกได้
ใช้ยาระงับประสาทเพียงเล็กน้อยเท่านั้นในการควบคุมความกระวนกระวายของผู้ป่วย
ไม่ใช้ยากระตุ้นหัวใจหรือหลอดเลือด
ถ้ามีต้องอยู่ในระดับต่ำหรือมีแนวโน้มว่าจะลดลงได้เรื่อย ๆ
สามารถไอได้ดี สังเกตได้จากขณะที่ดูดเสมหะ
วิธีในการถอดท่อช่วยหายใจ
เอาลมในกระเปาะท่อช่วยหายใจออกให้หมดโดยใช้ syringe
ให้ผู้ป่วยกลั้นหายใจ ค่อยๆดึงท่อช่วยหายใจออกและให้ผู้ป่วยไอขับเสมหะออกมา ดูดเสมหะอีกครั้ง
แกะพลาสเตอร์ที่ยึดท่อช่วยหายใจ
ให้ O2 mask with collugate 10 ลิตร/นาที เป็นเวลา 2 ชั่วโมง
วัดสัญญาณชีพทุก 15 นาที ทุก 30 นาทีและทุก 1 ชั่วโมงจนกว่าจะคงที่
ดูดเสมหะในปากและในท่อช่วยหายใจให้โล่ง
เฝ้าระวังอาการของผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
จัดท่านั่งศีรษะสูง
ขั้นตอนที่ 3 หลังหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ให้ O2 mask with collugate 10 ลิตร/นาที 2 ชั่วโมง
หลังจากนั้นเป็น O2 cannula 3-6 ลิตร/นาที
วัดสัญญาณชีพทุก 15-30 นาทีและทุก 1 ชั่วโมงจนกว่าจะคงที่และเฝ้าระวังอาการผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
จัดท่าผู้ป่วยท่านั่งศีรษะสูง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีสายสวนหลอดเลือด
(central line monitor)
การวัดความดันในหลอดเลือดแดง (intra-arterial monitoring)
ใส่สายยางเข้าไปในเส้นเลือดแดง (arterial line; A-line)
ความดันเฉลี่ยในหลอดเลือดแดงใหญ่ (mean aortic pressure; MAP:)
ค่าปกติ MAP = 70-100 mmHg.
ข้อบ่งชี้ในการวัดความดันโลหิตทางหลอดเลือดแดง
ผู้ป่วยที่ใช้ inotropic drugs และ vasoactive drug
ผู้ป่วยที่วัดความดันโลหิตยาก
ผู้ป่วยถูกไฟไหม้
จำเป็นต้องการตรวจ arterial blood gas
หรือส่งเลือดตรวจทางห้องปฏิบัติการบ่อย ๆ
ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัดซึ่งอาจเสียเลือดได้มาก
ผ่าตัดหัวใจและหลอดเลือด ผ่าตัดสมอง
ในผู้ป่วยที่มีการไหลเวียนลดลง
ภาวะช็อก
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใส่สายหลอดเลือดแดง (arterial line)
ตรวจสอบความแม่นยำของการปรับเทียบค่า (Accuracy)
1.1 Levelling the transducer
จัดตำแหน่ง transducer ให้อยู่ในตำแหน่ง phlebostatic axis
บริเวณ 4th intercostal space ตัดกับ mid anterior-posterior line
1.2 Zeroing the transducer เป็นการปรับ transducer
ความดันบรรยากาศ (ให้อยู่ในระดับ 0)
เทียบกับเครื่อง monitor ให้การวัดความดันมีความเที่ยงตรงและแม่นยำ ควร set zero เครื่องทุก 8 ชั่วโมง
ดูแลระบบของ arterial line ให้มีประสิทธิภาพ
ใช้ continuous flush system โดยใช้สารน้ำ 0.9% NSS 500 cc ผสมกับ Heparin 2,000-2,500 ยูนิต
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
3.1 การติดเชื้อ (infection)
3.2 การเกิดเนื้อตาย (Skin necrosis)
3.3 Air embolization จาก air ที่ใช้หลุดเข้าไปในระบบจากการ flush
3.4 ภาวะที่มีเลือดออกในเนื้อเยื่อ (Hematoma)
3.5 การไหลเวียนของเลือดไปเลี้ยงอวัยวะส่วนปลายลดลง (limb ischemia)
4.4 ทำแผลทุก 7 วัน
transparent dressing หรือเปลี่ยนผ้าปิดแผลทุก 2 วัน
กรณีใช้ gauze dressing หรือเมื่อมีเลือดหรือสารน้ำเปียกซึม
4.5 เปลี่ยนชุดของ transducer และชุดการให้สารน้ำทุก 3 วัน
การป้องกันการติดเชื้อ (Infection) การพยาบาล
4.1 ใช้ sterile technique ในทุกขั้นตอนของการเตรียมและการวัด
4.2 หลีกเลี่ยงการปลดสาย ข้อต่อต่าง ๆ ดูแลให้เป็นระบบปิด
4.3 ประเมินอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อตรงตำแหน่งสายหลอดเลือดแดง
เก็บตัวอย่เลือดส่งตรวจทาง arterial line
ต้อง flush สาย ไม่ให้มีเลือดหรือฟองอากาศค้างในสาย
ตรวจสอบข้อต่อต่างๆ ให้แน่นอย่างสม่ำเสมอ
ป้องกันการหัก งอ ของสายarterial line
การป้องกันการเลื่อนหลุด ควร immobilized arm
โดยใช้ arm broad ที่เหมาะสม บริเวณ insert site ต้องสามารถมองเห็นได้ตลอดเวลา
ตรวจดูคลื่นที่แสดงการอุดตัน (damped waveform)
บันทึกตำแหน่งของสายยาง
หากพบควรดูดลิ่มเลือดหรือฟองอากาศออกและรายงานแพทย์
จดบันทึกค่า Arterial blood pressure
ทุก 15-60 นาที ตามความจำเป็น
รายงานแพทย์เมื่อค่าที่ได้มีความผิดปกติ
10.ในกรณีที่แพทย์ถอดสายยางออกแล้วควรกดตำแหน่งแผลไว้นาน อย่างน้อย 10 นาที
จนกว่าเลือดจะหยุด ทำความสะอาดแผลและปิดแผลด้วย plaster ที่เหนียวให้แน่น ด้วยหลักปราศจากเชื้อ
การวัดการไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤต
การตรวจสอบสัญญาณชีพ
ใส่สายสวน (catheter)
การวัดค่าความดันในหลอดเลือดดำส่วนกลาง (Central venous pressures; CVP)
แรงดันเลือดของหัวใจห้องบนขวา (right atrium pressure)
ระดับของปริมาณน้ำและเลือดในร่างกาย
Superior Vena Cava (SVC)
ข้อบ่งชี้ในการติดตามค่า CVP มีดังนี้
ในผู้ป่วยที่สูญเสียเลือดจากอุบัติเหตุหรือจากการผ่าตัด
ภาวะ shock
กรณีอื่นที่ทำให้ปริมาณเลือดและน้ำในร่างกายลดลง
ในผู้ป่วยที่มีภาวะน้ำเกิน
ในกรณีที่ต้องการประเมินการทำงานของหัวใจและหลอดเลือด
การแปลงค่า CVP
ปกติอาจอยู่ในช่วง 6-12 cmH2O (2-12 mmHg)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีสายสวนหลอดเลือดดำส่วนกลาง (Central venous pressures; CVP)
ป้องกันการเลื่อนหลุดของสายสวน
ระมัดระวังสายขณะเคลื่อนย้ายและขณะทำแผล
ดูแลไม่ให้เกิดการดึงรั้ง และตรวจสอบผ้าปิดแผลติดกับผิวหนังให้แน่น
ป้องกันการติดเชื้อในกระแสเลือดจากการใส่สายสวนหลอดเลือดดำส่วนกลาง การพยาบาล
3.1 พิจารณาความจำเป็นในการคาสายสวนหลอดเลือดดำ และพิจารณาถอดออกให้เร็วที่สุด
3.2 ประเมินแผลบริเวณรอบๆที่คาสายสวนหลอดเลือดดำทุกเวรและทุกครั้งที่เปลี่ยนผ้าปิดแผล
สังเกตอาการอักเสบบวม แดง หรือมีการรั่วของสารน้ำรอบๆ แผลสายสวน
3.3 ทำความสะอาดแผลด้วย 2% Chlorhexidine in 70% Alcohol และเปลี่ยน steriletransparent dressing ทุก 7 วัน
gauze dressing เปลี่ยนทุก 2 วัน หรือเมื่อผ้าปิดแผลสกปรก
3.4 สวมปิดบริเวณข้อต่อด้วย needleless connector
ควรเปลี่ยนจุกปิดเมื่อสกปรกหรือปนเปื้อน ส่วนบริเวณรอยต่อ (catheter hub)
เช็ดทำความสะอาดด้วย 2% Chlorhexidine in 70% Alcohol ก่อนให้สารน้ำหรือฉีดยาหรือเพื่อดูดเลือดส่ง
3.5 ในกรณีการเปลี่ยนชุดสารน้ำควรเปลี่ยนภายใน 72 ชั่วโมง
ชุดให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำชนิดที่เป็นไขมันแบบ emulsions ซึ่งมีส่วนผสม amino acids และ glucose
ควรเปลี่ยนภายใน 24 ชั่วโมง เนื่องจากมีความเข้มข้นของน้ำตาลสูง ซึ่งเป็นอาหารของแบคทีเรีย
3.6 เฝ้าระวังและดูแลระบบการให้สารน้ำต้องเป็นระบบปิดตลอดเวลา
ป้องกันการอุดตันของสายสวน
fibrin sheath มาเกาะสาย
การเกิดลิ่มเลือดอุดตันในสาย
การตกตะกอนของสารอาหาร
ดูแลสายสวนทางหลอดเลือดดำไม่ให้หักพับงอ
ใช้ NSS 10 ซีซี ป้องกันการตกตะกอน
ควบคุมความดันใน pressure bag 300 มม.ปรอท
การป้องกันฟองอากาศเข้าหลอดเลือดโดยดูแลให้เป็นระบบปิด
ฟองอากาศที่เข้าสู่หลอดเลือดอาจเป็นสาเหตุให้เกิดการอุดตันที่ปอด pulmonary embolism)
ติดตามอาการหอบเหนื่อย
ภาวะขาดออกซิเจนอย่างใกล้ชิด
ความแม่นยำของการเปรียบเทียบค่า
1.1 Levelling the transducer จัดตำแหน่ง transducer
ให้อยู่ในตำแหน่ง phlebostatic axis
ตำแหน่ง 4th intercostal space ตัดกับ mid anterior-posterior line
1.2 Zero the transducer เป็นการปรับ transducer
กับความดันบรรยากาศ (ให้อยู่ในระดับ 0)
เพื่อเทียบกับเครื่อง monitor ให้การวัดความดันมีความเที่ยงตรงแม่นยำ
ยาที่ใช้บ่อยในผู้ป่วยวิกฤต (common drugs used in ICU)
ยาที่ใช้ในภาวะ Pulseless Arrest
1.1 Epinephrine หรือ Adrenaline 1 mg/ml/ampule (1: 1,000)
ใช้เป็นยาตัวแรกในการทำ CPR ทั้งในภาวะ systole/PEA และ VF/pulseless VT
ใช้ในภาวะ symptomatic bradycardia ที่ไม่ตอบสนองต่อการให้ atropine
Cardiac arrest
การพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันโลหิต
อัตราการเต้นของหัวใจ ทุก 15 นาทีติดต่อกัน 2 ครั้ง เมื่อเริ่มให้ยา
เมื่อ BP< 90/60 หรือ >140/90 mmHg หรือ HR>120 ครั้ง/นาที ให้ยาตามแผนการรักษา
1.2 Amiodarone (Cordarone®)
ยารักษาหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิด Atrial fibrillation และ Atrial flutter
หัวใจห้องล่างเต้นผิดจังหวะชนิด Ventricular fibrillation (VF) และ Ventricular tachycardia
การพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันโลหิต
อัตราการเต้นของหัวใจและ monitor EKG ทุก 15 นาที 3 ครั้ง
ภายหลัง loading dose รายงานแพทย์เมื่อ BP < 90/60 mmHg, HR < 60 BPM
ยาที่ใช้ในภาวะ Bradyarrhythmia
2.1 Atropine
ใช้แก้ไขภาวะหัวใจเต้นช้าผิดปกติและ AV block
การพยาบาล
ควรระวังการให้ขนาดที่ต่ำกว่า 0.5 mg อาจเกิดการตอบสนองชนิดหัวใจเต้นช้าลง
( paradoxical bradycardia) เนื่องจากยาในขนาดต่ำมีผลกระตุ้น central หรือ peripheral parasympathetic
ติดตามสัญญาณชีพ monitor EKG อัตราการเต้นของหัวใจและความดันโลหิต
ไม่ควรให้ถ้า HR > 60 ครั้ง/นาที
รายงานแพทย์เมื่อ HR > 120 ครั้ง/นาที โดยให้ monitor HR ทุก 5 นาที
ยาที่ใช้ในภาวะ Tachyarrhythmia
3.1 Adenosine
ใช้เป็น first line drug ในภาวะ Stable narrow complex tachycardia (reentry SVT)
ภาวะ unstable narrow complex regular tachycardia
แต่ต้องเตรียมพร้อมทำ cardioversion ไว้ด้วย
ภาวะ regular monomorphic wide complex tachycardia
การพยาบาล
เป็นยาที่ออกฤทธิ์ได้เร็ว (10 วินาที) และหมดฤทธิ์เร็ว จึงต้องฉีดเร็วๆ บริเวณ upper extremities
และ flush NSS ตาม 20 ml ด้วยวิธี double syringe technique
ถ้าฉีดยาช้า ยาจะถูกทำลายหมดก่อนถึงหัวใจ เนื่องจากยามี half-life สั้นมากเพียง 0.5-5 วินาที
3.2 Digoxin (Lanoxin ®)
Heart failure
หัวใจเต้นผิดจังหวะแบบ atrial fibrillation (AF), atrial flutter และ supraventricular Tachycardia (SVT)
การพยาบาล
กรณียาฉีด ประเมินสัญญาณชีพก่อนให้ยา และหลังให้ยาทุก 15 นาทีติดต่อกัน 2 ครั้ง ต่อไปทุก 30 นาที ติดต่อกัน 3 ครั้ง ต่อไปทุก 1 ชั่วโมงจนครบ 6 ชั่วโมง
monitor EKG ขณะฉีดยา และหลังฉีดยา 1 ชั่วโมง
ผู้ป่วยที่มีลักษณะการเต้นของหัวใจผิดปกติ ซึ่งอาจเกิดจากพิษของยา
รายงานแพทย์เมื่อ HR < 60 ครั้ง/นาที หรือ >100 ครั้ง/นาที BP < 90/60 mmHg RR < 14 ครั้ง/นาที หรือพบ Arrhythmia
ยากระตุ้นความดันโลหิต (Vasopressor)
4.1 Dopamine (Inopin®)
ขนาดต่ำ ใช้ในผู้ป่วยที่ปัสสาวะออกน้อย
เพื่อเพิ่มการไหลเวียนเลือดที่ไต (renal blood flow)และสมอง
ขนาดปานกลาง เพิ่มการบีบตัวของหัวใจ เพิ่ม Cardiac out put
ขนาดสูง ทำให้หลอดเลือดหดตัว
เพิ่มความดันโลหิตและอัตราการเต้นของหัวใจใช้รักษา
ผู้ป่วยที่มีภาวะ shock จากการติดเชื้อในกระแสเลือด
การพยาบาล
เลือกตำแหน่งให้ยาบริเวณหลอดเลือดดำเส้นใหญ่
ควบคุมอัตราการไหลของยาโดยใช้เครื่องควบคุมอัตราการไหลของสารน้ำอัตโนมัติ (Infusion pump)
ตรวจดู IV site ทุก 1 ชั่วโมงเพื่อเฝ้าระวังการเกิดยารั่วออกนอกหลอดเลือด
หากพบรอยแดง บวมให้เปลี่ยนตำแหน่งใหม่ทันที
ประเมินอัตราการเต้นของหัวใจและความดันโลหิต monitor ECG urine out put
อาการข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้น ทุก 0.5 -1 ชั่วโมง
ปรับเพิ่มหรือลดยาได้ทีละ 2µd/min keep BP ≥ 90/60 และ ≤140/90 หรือตามแผนการรักษา
4.2 Dobutamine
ช้เพิ่ม cardiac output ในผู้ป่วยหัวใจวาย หรือ cardiogenic shock
การพยาบาล เหมือนกับยา Dopamine
4.3 Norepinephrine (Levophed®)
รักษาผู้ป่วยที่มีภาวะ septic shock และ cardiogenic shock ระดับรุนแรง
ภาวะshock หลังจากได้รับสารน้ำเพียงพอแล้ว
การพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันโลหิต
อัตราการเต้นของหัวใจและ monitor ECG อาการ ข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้น ทุก 0.5 -1 ชั่วโมง
ตรวจดู IV site ทุก 1 ชั่วโมงเพื่อเฝ้าระวังการเกิดยารั่วออกนอกหลอดเลือด
หากผสมยาความ
เข้มข้นเกินกว่า 4 mg/D5W 250ml ควรให้ทาง central line
5.ยาขยายหลอดเลือด (Vasodilators)
5.1 Nicardipine
ในผู้ป่วยที่มีภาวะ Hypertensive crisis
การพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันโลหิต
อัตราการเต้นของหัวใจและ monitor ECG อาการ ข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้น ทุก 0.5 -1 ชั่วโมง
กรณี Emergency ให้ยาทาง IV bolus ติดตามทุก 5 นาที จน BP, HR ได้ระดับที่ต้องการ จากนั้น ติดตามทุก 15 นาที
กรณีให้ IV drip ติดตามทุก 15 นาที ในชั่วโมงแรก
จากนั้น ทุก 1 ชั่วโมงขณะให้ยา
รายงานแพทย์ทันทีถ้า BP < 90/60 mmHg
หรือ HR< 60 ครั้ง/นาทีหรือ HR > 120 ครั้ง/นาที
5.2 Sodium Nitroprusside
ใช้ในการลดความดันโลหิตในผู้ป่วย hypertensive emergency
ลด afterload ในภาวะหัวใจวายเฉียบพลัน
การพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันโลหิต ทุก 5 นาทีหลังให้ยา
ติดตามทุก 1 ชั่วโมงพิจารณาตามอาการของผู้ป่วย
ป้องกันยาในขวดน้ำเกลือทำปฏิกิริยากับแสงด้วยกระดาษ ผ้า หรือ aluminum foil
สังเกตว่าสีของยาจะเปลี่ยนไปหากทำปฏิกิริยากับแสง
5.3 Nitroglycerin (NTG)
Acute coronary syndrome, Chest pain (angina pectoris)
Heart failure โดยช่วยในการลด preload
การพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันโลหิต
ยามีผลทำให้ความดันโลหิตต่ำ
monitor EKG ยาทำให้เกิดหัวใจเต้นเร็ว (Tachycardia)