Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา ทางระบบประสาท, นางสาวณัฏฐ์ดารินทร์ นิลศรีสนิท…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา
ทางระบบประสาท
ชักจากไข้สูง
ชนิดของการชักจากไข้สูง
Primary febrile convulsionconvulsion
(ไม่มีความผิดปกติของสมอง)
Secondary febrile convulsion(มีความผิดปกติของสมอง)
การรักษา
ระยะที่กำลังมีอาการชัก
กรณีที่มีการชักเกิน 5 นาที ต้องทำให้หยุดชักเร็วที่สุด โดยให้ยาระงับอาการชัก
ให้ยาลดไข้ ร่วมกับ เช่น ตัวลดไข้
ระยะหลังชัก
ซักประวัติตรวจร่างกายโดยละเอียด ให้ยาป้องกันการชัก
โรคลมชัก (Epilepsy)
Partial seizure ชักกระตุกเฉพาะที่
Generalized seizure
Primary generalized epilepsyไม่มีความผิดปกติในระบบประสาท
Secondary generalized epilepsyมีความผิดปกติในระบบประสาท
สาเหตุการชัก
ได้รับอันตรายจากการคลอด
พันธุกรรม
Developmental and degenerative disorders
โรคติดเชื้อของสมอง
รอยโรคในสมองที่ทำให้เซลล์ประสาทหลั่งคลื่นไฟฟ้าสมองผิด
ปกติ
Metabolic และ Toxic etiologies
การรักษา
รักษาโดยการใช้ยาระงับอาการชักและยาป้องกันการชักซ้ำ
รักษาตามสาเหตุที่วินิจฉัยได้
รักษาด้วยอาหาร Ketogenic diet
การฝังเครื่องกระตุ้นไฟฟ้า
คำแนะนำสำคัญสำหรับผู้ปกครองคือ
ให้เด็กรับประทานยากันชักต่อเนื่องทุกวันนาน อย่างน้อย 2 ปี
มาตรวจตามนัดเพื่อแพทย์ประเมินอาการและปรับระดับยากันชักให้เหมาะสม
ชักจากการติดเชื้อของเยื่อหุ้มสมองหรือเนื้อสมอง
Meningitis
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย (Bacterial meningitis)
เชื้อไวรัส (Viral หรือ Asepitc meningitis)
พยาธิ (Eosinophilic meningitis)
เชื้อรา (Fungal memingitis)
อาการและอาการแสดง
อาการที่แสดงว่ามีการติดเชื้อ เช่น มีไข้
ปวดศีรษะมาก ซึมลง กระหม่อมโป่งตึง อาเจียน ชัก
อาการแสดงของการระคายเคืองของเยื่อหุ้มสมอง
คอแข็ง (Stiffness of neck)
Kernig’s sign ได้ผลบวก
Brudzinski’s sign ได้ผลบวก
การรักษา
การรักษาเฉพาะ
การรักษาตามอาการ
การป้องกัน ควรฉีดวัคซีน
Encephalitis
สาเหตุ
เชื้อไวรัส
เชื้อแบคทีเรีย
เชื้อรา
เชื้อปาราสิต
ปฏิกิริยาต่อวัคซีน
อาการและอาการแสดง
ไข้สูง
ปวดศีรษะ
ปวดบริเวณต้นคอ คอแข็ง (Stiffness of neck)
ซึมลง จนถึงขั้นโคม่าได้ภายใน 24 – 72 ชั่วโมง
ชัก มีการเคลื่อนไหวผิดปกติ
กระสับกระส่าย อารมณ์ผันแปร เพ้อ คลั่ง อาละวาด
การหายใจไม่สม่ำเสมอ
การรักษา
ให้ออกซิเจน, เจาะคอ หรือใช้เครื่องช่วยหายใจ
การให้ยา ระงับชัก ลดอาการบวมของสมอง นอน
หลับ ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
รักษาสมดุลของปริมาณน้ำเข้า – ออก ของร่างกาย
โรคไข้สมองอักเสบJapanese encephalitis (JE)
อาการและอาการแสดง
เริ่มด้วยมีไข้ ปวดเมื่อย อ่อนเพลีย
ต่อไปอาการปวดศีรษะจะมากขึ้น มี
อาการอาเจียน ง่วงซึมจนไม่รู้สึกตัว
ในรายที่เป็นรุนแรงมากจะ
ถึงแก่กรรมประมาณวันที่ 7-9
การตรวจวินิจฉัย
ตรวจแยกเชื้อไวรัส เจอี จากเลือด
ตรวจหาIgM antibody เฉพาะต่อไวรัส เจอี ในน้ำไขสันหลังและ
ในเลือด
การรักษา
ต้องให้การดูแลรักษาเฉพาะใน Intensive care unit
ให้ยาลดไข้ลดการบวมของสมอง ระงับอาการชัก
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่งโดยการดูดเสมหะบ่อยๆ
บางครั้งจำเป็นต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ
การป้องกัน
หลีกเลี่ยงไม่ให้ถูกยุงกัด
ไม่ควรเลี้ยงหมูในบริเวณใกล้บ้านที่อยู่อาศัย
ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน 3 ครั้ง
หลักการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการชัก
จัดให้ผู้ป่วยนอนราบ ตะแคงหน้าไปข้างใดข้างหนึ่ง เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยสำลัก
ทำทางเดินหายใจให้โล่ง โดยการดูดเสมหะ
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตรงตามแผนการรักษาในรายที่หายใจขัด
ขณะชักให้งดอาหาร น้ำ ทางปาก ตามแผนการรักษา
เตรียมไม้กดลิ้นไว้ที่โต๊ะข้างเตียงในรายที่มีอาการชักเกร็ง
ถ้าผู้ป่วยมีไข้สูง ให้เช็ดตัว
ดูแลให้ได้รับยากันชัก
สังเกตและบันทึกลักษณะการชัก
วัดและบันทึกสัญญาณชีพ อย่างน้อยทุก 4 ชั่วโมง
การให้คำแนะนำและเตรียมความรู้แก่บิดา
ให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะโรค
แนะนำวิธีการปฏิบัติเมื่อผู้ป่วยมีไข้
แนะนำวิธีปฏิบัติเมื่อผู้ป่วยเกิดอาการชัก
แนะนำการดูแลให้ยากันชัก และผลข้างเคียงของยา
โรคสมองพิการ
(Cerebral Palsy)
สาเหตุ
1.ระยะก่อนคลอด
2.ระยะคลอด
3.ระยะหลังคลอด
อาการและอาการแสดง
ลักษณะอ่อนปวกเปียก
อาจหายใจช้า
พัฒนาการช้า
พูดไม่ชัดเจน
การรักษา
การให้ยาคลายกล้ามเนื้อ
การทำกายภาพบำบัดของกล้ามเนื้อแขน ขา หรือลำตัว
การให้ early stimulation เพื่อให้สมองส่วนต่างๆที่ไม่มีความเสียหายได้พัฒนา
การแก้ไขความผิดปกติของการรับรู้ที่สำคัญ
การแก้ไขความผิดปกติของระบบประสาทส่วนอื่น
การให้คำแนะนำผู้ปกครองในการดูแลเด็กในชีวิตประจำวัน
การพยาบาล
ได้รับสารอาหารน้อยกว่าความต้องการของร่างกาย
เสี่ยงต่อพัฒนาการช้ากว่าวัย/มีพัฒนาการช้ากว่าวัย
เสี่ยงต่อการได้รับบาดเจ็บ
บิดา มารดาหรือผู้ดูแลเด็กขาดความรู้ในการดูแลเด็ก
Hydrocephalusภาวะน้ำคั่งใน โพรงสมอง
สาเหตุ
1.การสร้างหรือการผลิตน้ำไขสันหลังมากผิดปกติ
การอุดกั้นการไหลเวียนของน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง
ความผิดปกติในการดูดซึมน้ำไขสันหลัง
อาการและอาการแสดง
ศรีษะโต/ หัวบาตร
เด็กเล็กที่กระหม่อมยังไม่เปิดพบว่ากระหม่อมหน้าโป่งตึงกว่าปกติ
หนังศีรษะบางและมองเห็นหลอดเลือดดำ
ความดันในกะโหลกศีรษะสูง
ตาทั้ง 2 ข้างกรอกลงข้างล่าง
ตาพล่ามัว เห็นภาพซ้อน
รีเฟลกซ์ และ tone ของขา2 ข้าง ไวกว่าปกติ
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
พัฒนาการทั่วไปช้ากว่าปกติ(delay
การเจริญเติบโตและพัฒนาการช้า
การวินิจฉัย
Transillumination test
Ventriculography
CT scan
Ultrasound
Head Circumference
การรักษา
ผ่าตัดรักษาสาเหตุ
ผ่าตัดเปลี่ยนทางเดินน้ำไขสันหลัง
การให้ยาลดการสร้างน้ำไขสันหลัง
Guillain Barre ‘s Syndrome
สาเหตุ
เกิดจากระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายทำงานผิดปกติ
อาการและอาการแสดง
Sensation
เริ่มมีอาการเหน็บชา เจ็บ และปวด
อาจรุนแรงต้องให้ยาแก้ปวด
motor
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
อาการอัมพาตในGBS จะเริ่มต้นที่ขา
อาการของประสาทสมอง โดยเฉพาะส่วนใบหน้า
มีอัมพาตของหน้า ปิดตา และปากไม่สนิท
ความผิดปกติของการแสดงสีหน้า
อาการลุกลามของประสาทอัตโนมัติ ส่วน medulla oblongata
การเต้นหัวใจผิดจังหวะ
ความดันโลหิตไม่คงที่ หัวใจเต้นช้าหรือเร็ว
หน้าแดง เหงื่อออก ปัสสาวะคั่ง และท้องอืดจาก paralytic ileus
การรักษา
การรักษาด้วยการเปลี่ยนถ่ายพลาสมา
การรักษาด้วย Intravenous Immunglobulin (IVIG)
วินิจฉัยการพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดการหายใจไม่เพียงพอจากกล้ามเนื้อช่วยหายใจอ่อนแรงอย่างเฉียบพลัน
เสียงต่อการขาดสารอาหารจากไม่สามารถช่วยตนเองจากกล้ามเนื้ออ่อนแรงอย่างสมบูรณ์
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการไม่เคลื่อนไหว
พักผ่อนไม่เพียงพอ
ทุกข์ทรมานจากอาการปวดกล้ามเนื้อ
ขาดการติดต่อสื่อสารกับบุคคลอื่นๆจากไม่สามารถพูดได้
หลักการพยาบาลในระยะเฉียบพลันและต่อเนื่อง
Check vital sign โดยเฉพาะ RR
ให้ออกซิเจน ถ้ามีภาวการณ์หายใจไม่พอจำเป็นต้องใส่ท่อช่วยหายใจพร้อมเครื่องช่วยหายใจ
ติดตามประเมินการเคลื่อนไหว กำลังของกล้ามเนื้อ การรับรู้สัมผัส
ดูแลปัญหาการขาดสารอาหาร
สังเกตอาการปวดตามกล้ามเนื้อ
ประคับประคองด้านจิตใจ ส่งเสริมการมองโลกในแง่ดีสำหรับผู้ป่วย
กลุ่มอาการดาวน์ (Down ’s syndrome)
อาการและอาการแสดง
กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก (hypotonia)
หัวแบนกว้าง (brachiocephaly)
คอสั้นและผิวหนังด้านหลังของคอค่อนข้างมากและนิ่ม
หูติดอยู่ต่ำ
brush field spot
ปากอ้าและลิ้นมักจะยื่นออก และมีรอยแตกที่ลิ้น
มือกว้างและสั้น มักจะมี simian crease
นิ้วก้อยโค้งงอ(clinodactyly)
ร่องระหว่างนิ้วโป้งเท้าและนิ้วชี้กว้าง
เส้นลายนิ้วมือมักพบ ulnar loopมากกว่าปกติและพบ distal triradius ในฝ่ามือ
ร่างกายเจริญเติบโตช้า
ความผิดปกติเกี่ยวกับตา
ความผิดปกติเกี่ยวกับหู
การติดเชื้อ โดยเฉพาะระบบทางเดินหายใจเกิดง่ายกว่าเด็กทั่วไป
การรักษา
การกระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการให้เหมาะสมตามวัย
การรักษาโรคทางกายอื่นๆที่มีร่วมด้วย
การให้คำปรึกษาแนะนำด้านพันธุกรรม
Spina bifida/Spina bifida occulta/Meningocele/Myelomeningocele
การวินิจฉัย
มารดามีประวัติติดเชื้อขณะตั้งครรภ์
การตรวจร่างกายทารกพบความผิดปกติ
การรักษา
การผ่าตัดเย็บปิดถุงที่ยื่นออกมา
อาจเกิดการติดเชื้อ เนื่องจากถุงน้ำแตก
การพยาบาล
จัดท่านอนตะแคงหรือนอนคว่ำ
ไม่นุ่งผ้าอ้อม
ดูแลถุงน้ำให้ชุ่มชื่น ระวังไม่ให้เกิดแผล
หมั่นตรวจสอบการฉีกขาด รั่ว
ประเมินการติดเชื้อ
อาจมีการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ
เนื่องจากการคั่งของน้ำปัสสาวะ
ทำ Crede’manuever ทุก 2-4 hr
ทำความสะอาดทุกครั้งหลังขับถ่าย
ให้ยา Antibiotic ตามแผนการรักษา
มีกล้ามเนื้อแขนขาอ่อนแรงจากการกดเบียด
เส้นประสาทไขสันหลัง
การพยาบาล
ทำ Passive Exercise ให้ผู้ป่วย
สอนผู้ปกครองในการกระตุ้นการเคลื่อนไหวของผู้ป่วย
สังเกตอาการอ่อนแรงของแขนขาการควบคุมการขับถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ
เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด
ตรวจสอบสัญญาณชีพ อาจทุก 2-4 hr
เฝ้าระวังและสังเกตภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญคือ แผลติดเชื้อ และ Hydrocephalus
วัดเส้นรอบศีรษะทุกวันเพื่อประเมินภาวะHydrocephalus
บริหารแขนขา/ เปลี่ยนท่านอนบ่อยๆ
นางสาวณัฏฐ์ดารินทร์ นิลศรีสนิท รุ่น36/1 เลขที่44 รหัส612001045