Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ - Coggle Diagram
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
วิวัฒนาการของกฎหมายสำหรับ
การพยาบาลและการผดุงครรภ์
ภายใต้ “พระราชบัญญัติ การแพทย์ พ.ศ. 2466” โดยในสมัยรัชกาลที่ 6 ได้มีการออกกฎหมายขึ้นควบคุมการให้บริการด้านการดูแล สุขภาพแก่ประชาชน
ต่อมาใน พ.ศ. 2472 มีการแก้ไขโดยการตัดสาขาสัตวแพทย์ออกโดยให้การประกอบโรคศิลปะเป็นการ กระท าต่อมนุษย์เท่านั้น จนถึง พ.ศ. 2480 ได้มีการประกาศใช้กฎหมายฉบับใหม่ คือ พระราชบัญญัติควบคุม การประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2479
ในปี พ.ศ. 2534 คณะกรรมการสภาการพยาบาลมีความเห็นว่า ปัจจุบันสถานการณ์บ้านเมือง เปลี่ยนแปลง การเจ็บป่วยซับซ้อนขึ้น
จนกระทั่ง “พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. 2528 และที่แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2540” ได้ ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เล่ม 114 ตอนที่ 75 วันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2540 และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2540 จวบจนถึงปัจจุบัน
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์สำหรับพยาบาล
และการกระทำความผิดที่พบบ่อย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายแพ่ง
กฎหมายแพ่งกำหนดสิทธิ หน้าที่และความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชนโดยทุกฝ่ายมีฐานะเท่าเทียมกัน
กฎหมายพาณิชย์ เป็นกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการค้าขายหรือกิจการใดๆ
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง เป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับวิธีการด าเนินพิจารณาพิพากษาคดีในกรณีที่ เกิดข้อพิพาทในทางแพ่งขึ้น
นิติกรรม
การกระทำของบุคคลด้วยใจสมัครและถูกต้องตามกฎหมาย มุ่งให้เกิดการ เปลี่ยนแปลง โอน สงวนหรือระงับสิทธิระหว่างบุคคล
องค์ประกอบของนิติกรรม
ผู้กระทำต้องแสดงออกในฐานะที่เป็นเอกชน
การกระทำโดยเจตนา
การแสดงเจตนาโดยชัดแจ้ง อาจทำโดยวาจา เป็นลายลักษณ์อักษร
การแสดงเจตนาโดยปริยาย เป็นการแสดงเจตนาไม่ชัดแจ้งแต่การกระทำอื่นๆ ที่ทำให้ต่าง ฝ่ายต่างเข้าใจว่า มีความประสงค์ใดในกิริยาเช่นนั้น
การกระทำที่ชอบด้วยกฎหมาย
ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวสิทธิ
ประเภทของนิติกรรม
นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามจ านวนคู่กรณี
นิติกรรมฝ่ายเดียว
นิติกรรมหลายฝ่าย
นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามการมีผลของนิติกรรม
นิติกรรมที่มีผลขณะผู้แสดงเจตนาไม่มีชีวิต
นิติกรรมที่มีผลขณะผู้แสดงเจตนายังมีชีวิต
นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามค่าตอบแทน
นิติกรรมที่มีค่าตอบแทน
นิติกรรมที่ไม่มีค่าตอบแทน
ความสามารถของบุคคลในการให้การยินยอมรักษาพยาบาล
บุคคล
บุคคลธรรมดา
การตายโดยธรรมชาติ
การสาบสูญ
นิติบุคคล
ผู้เยาว์ (Minor)
คนไร้ความสามารถ (Incompetence)
คนเสมือนไร้ความสามารถ (Quasi – incompetence)
ลูกหนี้ที่ถูกศาลสั่งเป็นบุคคลล้มละลาย
สามีภริยา
สภาพบังคับทางแพ่ง
โมฆะกรรม
โมฆียกรรม
การบังคับชำระหนี้
การชดใช้ค่าเสียหายหรือค่าสินไหมทดแทน
กฎหมายอาญาสำหรับพยาบาล
และการกระทำความผิดที่พบบ่อย
ความหมายและวัตถุประสงค์ของกฎหมายอาญา
กฎหมายอาญาเป็นกฎหมายมหาชน ซึ่งบัญญัติว่าการกระทำใดเป็นความผิด และกำหนดโทษอาญาแก่ ผู้ฝ่าฝืน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อควบคุมความประพฤติของบุคคลให้อยู่ในสังคมด้วยความสงบเรียบร้อย รักษา โครงสร้างของสังคมให้มั่นคง คุ้มครองความปลอดภัย
ประเภทของความรับผิดทางอาญา
ความผิดต่อแผ่นดิน
ความผิดต่อส่วนตัว
ลักษณะสำคัญของความรับผิดทางอาญา
ต้องมีบทบัญญัติความผิด และกำหนดโทษไว้โดยชัดแจ้ง
ต้องตีความเคร่งครัดตามตัวอักษร
ไม่มีผลย้อนหลังที่เป็นโทษ
หลักเกณฑ์ความรับผิดทางอาญา
การกระทำ
กฎหมายบัญญัติว่าการกระทำนั้นเป็นความผิดและกำหนดโทษ
กระทำโดยเจตนา ประมาท หรือไม่เจตนา
เหตุยกเว้นความรับผิดทางอาญา
4.1 เหตุยกเว้นความรับผิด
4.2 เหตุยกเว้นโทษ
4.3 เหตุลดหย่อนโทษ
อายุความ
5.1 อายุความฟ้องคดีทั่วไป
5.2 อายุความฟ้องคดีความผิดอันยอมความได้
โทษทางอาญา
โทษประหารชีวิต
โทษจำคุก
โทษกักขัง
โทษปรับ
โทษริบทรัพย์สิน
ความประมาทในการประกอบวิชาชีพกับการปฏิเสธการรักษา
1) ประมาททำให้ผู้อื่นได้รับอันตรายเล็กน้อยแก่ร่างกายหรือจิตใจ
2) ประมาททำให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส
ตาบอด หูหนวก ลิ้นขาด หรือเสียฆานประสาท
เสียอวัยวะสืบพันธุ์ หรือความสามารถสืบพันธุ์
เสียแขน ขา มือ เท้า นิ้ว หรืออวัยวะอื่นใด
แท้งลูก
หน้าเสียโฉมอย่างติดตัว
จิตพิการอย่างเต็มตัว
ทุพพลภาพหรือเจ็บป่วยเรื้อรัง
ทุพพลภาพหรือเจ็บป่วยด้วยอาการทุกขเวทนาเกินกว่า 20 วัน
3) ประมาททำให้ผู้อื่นได้รับอันตรายถึงแก่ความตาย
ความรับผิดทางอาญาที่เกี่ยวกับการปฏิบัติการพยาบาล
ความประมาทในการประกอบวิชาชีพ
2) ใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์การแพทย์ไม่ถูกต้อง
3) ความบกพร่องด้านการสื่อสาร
4) ความบกพร่องด้านการบันทึก
5) ความบกพร่องด้านการประเมินและเฝ้าระวังอาการ
6) ความบกพร่องด้านการไม่พิทักษ์สิทธิของผู้ป่วย
1) ไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ
การทอดทิ้งหรือละเลยผู้ป่วย
การเปิดเผยความลับของผู้ป่วย (Confidential disclosure)
การปฏิเสธความช่วยเหลือผู้ที่ตกอยู่ในอันตรายต่อชีวิต
ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร: การปลอมเอกสารและการท าหรือรับรองเอกสารเท็จ
5.1 ความผิดฐานปลอมเอกสาร
5.2 ความผิดฐานทำหรือรับรองเอกสารเท็จ
การทำให้หญิงแท้งลูก (Induced abortion)
6.1 การทำให้ตนเองแท้งลูก
6.2 การทำให้หญิงแท้งลูกโดยผู้เสียหายยินยอม
6.3 การทำให้หญิงแท้งลูกโดยผู้เสียหายไม่ยินยอม
6.4 การพยายามท าให้หญิงแท้งลูก
6.5 การทำให้หญิงแท้งที่ถูกกฎหมาย
ความรับผิดทางแพ่งที่เกี่ยวกับการประกอบ
วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ความรับผิดจากการละเมิด
การกระทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย
การกระทำโดยจงใจหรือประมาท
การกระทำโดยจงใจ หมายถึง การกระทำที่ตั้งใจหรือเจตนาโดยผิดกฎหมาย ไม่มีสิทธิหรือใช้ สิทธิเกินขอบเขต ทำให้เกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น โดยรู้สำนึกถึงผลเสียหายที่จะเกิดขึ้นแก่บุคคลอื่น
การกระทำโดยประมาทเลินเล่อ หมายถึง การกระทำโดยมิได้จงใจ แต่กระทำโดยปราศจาก ความระมัดระวังในระดับวิญญูชน ซึ่งอาจเทียบได้กับความระมัดระวังของบุคคลในอาชีพเดียวกัน ซึ่งบุคคลใน ภาวะเช่นนั้นจะต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์
3.ทำให้บุคคลอื่นเสียหาย