Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เทคโนโลยี และยาที่ใช้บ่อยใน ICU, ฉวีวรรณ…
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เทคโนโลยี และยาที่ใช้บ่อยใน ICU
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจและหย่าเครื่องช่วยหายใจ
เครื่องช่วยหายใจ(Mechanical ventilator) เป็นการช่วยหายใจแบบแรงดันบวก "Positive mechanical ventilator"
ข้อบ่งชี้การใช้เครื่องช่วยหายใจ
ภาวะพร่องออกซิเจน (oxigenation fuilure)
ความล้มเหลวของการระบายอากาศ (Ventilation failure)
กล้ามเนื้อกะบังลมไม่มีแรง (Diaphragm failure)
ระบบไหลเวียนโลหิตในร่างกายผิดปกติ
ชนิดของเครื่องช่วยหายใจ
Non-invasive positive ventilator ; NPPV
เครื่องช่วยหายใจความดันบวกที่ไม่ใส่ท่อช่วยหายใจ
Invasive positive ventilator ;IPPV เครื่องช่วยหายใจประเภทความดันบวกที่ใส่ท่อช่วยหายใจ
การแบ่งประเภทของเครื่องช่วยหายใจ (Mode of ventilator)
Control mandatory ventilation (CMV) หรือ Assist/control (A/C) ventilator
Synchronized intermittent mandatory ventilator (SIMV)
Spontaneous ventilator
Continuous positive airway pressure (CPAP) หายใจที่ให้แรงดันบวก (PEEP)
Pressure support ventilator (PSV)
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลด้านจิตใจ ประคับประคองด้านจิตใจโดยอธิบายเกี่ยวกับการเจ็บป่วย วิธีการรักษาอย่างมีเหตุผล
การดูแลด้านร่างกาย
ประเมินสภาพผู้ป่วยและภาวะแทรกซ้อน ทุก 1 ชั่วโมง
ดูแลหลอดลมและความสุจสบายในช่องปาก
ป้องกันไม่ให้เกิดการอุดกั้นของทางเดินหายใจ
ดูแลให้เครื่องช่วยหายใจทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ และดูแล Tubing system ให้เป็นระบบปิด
ป้องกันภาวะปอดแฟบ
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่สำคัญ
การหย่าเครื่องช่วยหายใจ (Weaning)
ขั้นตอนที่ 1ก่อนหย่าเครื่องช่วยหายใจ ประเมินความพร้อมของผู้ป่วย
ขั้นตอนที่ 2 ขณะหย่าเครื่องช่วยหาย
ควรเริ่มหย่าเครื่องช่วยหายใจในตอนเช้าหลังพักผ่อนเต็มที่
อธิบายวิธีการหย่าเครื่องช่วยหายใจคร่าวๆ เพื่อลดความกลัว
ดูดเสมหะในปากและท่อช่วยหายใจให้ทางเดินหายใจโล่ง
จัดท่าในม่าศีรษะสูงหรือท่านั่ง
ทำการหย่าเครื่องช่วยหายใจเมื่อประเมินว่าผู้ป่วยพร้อม
วัดสัญญาณชีพและo2sat
เฝ้าระวังอาการเปลี่ยนแปลงทุก 15 นาที ถึง 1 ชั่วโมง
ขั้นตอนที่ 3 หลังหย่าเครื่องช่วยหายใจ
จัดท่าผู้ป่วยท่านั่งศีรษะสูง
ให้ O2 mask with collugate 10 ลิตร เป็นเวลา 2 ชั่วโมง หลังจากนั้นให้เป็น O2 cannula 3-6 ลืตร/นาที
วัดสัญญาณชีพทุก 15 นาที ทุก 30 นาทีและทุก 1 ชั่วโมง จนกว่าจะคงที่และเฝ้าระวังอาการของผู้ป่วยอย่างคงที่
การพยาบาลผู้ป่วยใส่สายสวนหลอดเลือด (Central line monitor)
การวัดการไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤต
วัดความดันเลือดจากหลอดเลือดแดง
(Arterial blood pressure monitoring;ABP)
วัดความดันเลือดในหลอดเลือดดำส่วนกลาง (Central venous pressure monitoring;CVP )
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใส่สายหลอดเลือดแดง (Arterial line)
ตรวจสอบความแม่นยำของการปรับเทียบค่า (Accuracy)
ดูแลระบบของ arterial line ให้มีประสิทธิภาพ
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
การพยาบาลการป้องกันการติดเชื้อ (Infection)
ใช้ Sterile technique ในทุกขั้นตอนของการเตรียมและการวัด
หลีกเลี่ยงการปลดสาย ข้อต่อต่างๆ ดูแลให้เป็นระบบปิด
ประเมินอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อตรงตำแหน่งสายหลอดเลือดแดง
ทำแผลทุก 7 วัน กรณีใช้ transparent dressing หรือเปลี่ยนผ้าปิดทุก 2 วัน กรณีใช้ gauze dressing หรือเมื่อมีเลือดหรือสารน้ำเปียกซึม
เปลี่ยนชุดของ transducer และชุดการใช้สารน้ำทุก 3 วัน
เมื่อมีการเก็บตัวอย่างเลือดส่งตรวจทาง arterial line ต้อง flush สาย ไม่ให้มีเลือดหรือฟองอากาศค้างในสาย
ตรวจสอบข้อต่อต่าง ให้แน่นอย่างสม่ำเสมอ ป้องกันการหัก งอ ของสาย arterial line
ป้องกันการเลื่อนหลุด ควร immobilized arm โดยใช้ arm broad ที่เหมาะสม บริเวณ insert site ต้องมองเห็นได้ตลอดเวลา
ตรวจดูคลื่นที่แสดงการอุดตัน
(Damped waveform)
จดบันทึกค่า arterial blood pressure ที่ได้ทุก 15-60 นาที ตามความจำเป็น และรายงานแพทย๋เมื่อมีความผิดปกติ
กรณีที่แพทย์เอาสายออกให้กดตำแหน่งแผลไว้นานอย่างน้อย 10 นาที จนกว่าเลือดจะหยุด
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีสายสวนหลอดเลือดดำส่วนปลาย (Central venous pressure;CVP)
ความแม่นย้ำของการเปรียบเทียบค่า
ป้องกันการเลื่อนหลุดของสายสวน
ป้องกันการติดเชื้อในกระแสเลือดจากการใส่สายสวนหลอดเลือดดำส่วนกลาง
ป้องกันการอุดตันของสายสวน
ป้องกันฟองอากาศเข้าหลอดเลือดโดยดูแลให้เป็นระบบปิด ป้องกันการเลื่อนหลุดของสาย ป้องกันฟองอากาศเข้าสูหลอดเลือดในขณะวัด CVP
ยาที่ใช้บ่อยในผู้ป่วยวิกฤต (Common drugs used in ICU)
ยาที่ใช้ในภาวะ Pulseless Arrest
Epinephrine หรือ Adrenaline 1 mg/ml/ampule (1:1,000)
Amiodarone (Cordarone)
ยาที่ใช้ในภาวะ Bradyarrhythmia
Atropine
ยาที่ใช้ในภาวะ Tachyarrhythmia
Adinosine
Digoxin (Lanoxin)
ยากระตุ้นความดันโลหิต (Vasopressor)
Dopamine(Inopin)
Dobutamine
Norepinephrine (Levophed) กลุ่ม Adrenergic agonist
ยาขยายหลอดเลือด (Vasodilators)
Nicardipine
Sodium Nitroprusside
Nitroglycerine (NTG)
ฉวีวรรณ มิ่งศรีสุข 6001210811 เลขที่ 33 Sec.B