Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เทคโนโลยี และยาที่ใช้บ่อยใน ICD,…
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เทคโนโลยี และยาที่ใช้บ่อยใน ICD
Mechanical ventilator
ใช้สำหรับผู้ป่วยที่ไม่สามารถหายใจได้เองหรือ หายใจได้ไม่เพียงพอ
แบ่งประเภทของเครื่องช่วยหายใจ
SIMV
เป็นวิธีช่วยหายใจที่มีทั้งการหายใจเองและการหายใจด้วยเครื่องช่วยหายใจ
Spontaneous ventilation
CPAP
เป็นวิธีการหายใจที่ให้แรงดันบวกต่อเนื่องในระดับเดียวกันทั้งในช่วงการหายใจเข้าและออก
PSV
เป็นวิธีการหายใจที่เครื่องช่วยผู้ป่วยในขณะที่ผู้ป่วยสามารถหายใจได้เอง
CMVหรือA/C
เป็นวิธีช่วยหายใจที่การหายใจทุกครั้งถูกกำหนดด้วยเครื่องช่วยหายใจทั้งหมด โดยผู้ป่วยไม่มีการหายใจเอง
ข้อบ่งชี้
Ventilation failure
ผู้ป่วยที่มีภาวะล้มเหลวของการระบายอากาศ
Diaphragm fatigue
การได้รับยาที่กดศูนย์หายใจ ความผิดปกติของระบบประสาทส่วนกลางหรือระบบประสาทส่วนปลาย
Oxygenation failure
บางภาวะร่างกายมีความจำเป็นในการใช้ออกซิเจนในปริมาณสูง
Unstable Hemodynamic
ในภาวะช็อกร่างกายมีความต้องการออกซิเจนปริมาณสูง ภาวะดังกล่าวทำให้เลือดไปเลี้ยงอวัยวะอื่นๆลดลง
ชนิดของเครื่องช่วยหายใจ
IPPV
เครื่องช่วยหายใจประเภทความดันบวกที่ใส่ท่อช่วยหายใจที่ใช้มากที่สุดในภาวะวิกฤต
NPPV
เครื่องช่วยหายใจประเภทความดันบวกที่ไม่ใส่ท่อช่วยหายใจ
ภาวะแทรกซ้อนจากการใช้เครื่องหายใจ
ภาวะปอดเเฟบ
ปอดได้รับปริมาตรในการหายใจที่เพียงพอ จึงทำให้ปอดได้รับอากาศไม่เพียงพอจึงทำให้เกิดปอดแฟบ
ปอดอักเสบ
ผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจนานเกิน 48 ชั่วโมง
การบาดเจ็บของทางเดินหายใจ
มักพบในผู้ป่วยที่ใส่ท่อหลอดคอเป็นเวลานาน
ภาวะพิษจากออกซิเจน
การได้รับความเข้มข้นของออกซิเจนมากกว่า0.6นานเกิน24-48ชั่วโมงขึ้นไป ทพให้เกิดการทำลายของเนื้อปอด
ภาวะถุงลมปอดแตก
เป็นภาวะที่มีลมรั่วจากถุงลมเนื่องจากการใช้เครื่องช่วยหายใจชนิดแรงดันบวก หรือการค้างความดันในช่วงหายใจออกให้เป็นบวก มีลมรั่วออกมากระจายเข้าสู่เนื้อเยื่อ
ระบบทางเดินอาหาร
เกิดจากการที่นอนนานๆแล้วไม่มีการเคลทื่อนไหวของร่างกายจึงทำให้เกิดท้องอืด
การบาดเจ็บของปอด
การตั้งปริมาตรการหายใจที่สูงเกินไปส่งผลต่อความดันสูงสุดในทางเดินหายใจ ความดันสูงขึ้นทำให้ถุงลมถ่างขยายมากเกินไป
ภาวะโภชนาการ
การได้รับสารอาหารที่ไม่เพียงพอ เนื่องจากผู้ป่วยอาจต้องมีการ NPO หรือการที่ใส่เครื่องช่วยหายใจ
ระบบหัวใจและไหลเวียนเลือด
แรงดันในช่องอกสูงขึ้นกว่าปกติทำให้เลือดดำจากอวัยวะในส่วนล่างของร่างกายกลับสู่หัวใจได้ลดลง
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลร่างกาย
การป้องกันไม่ให้เกิดการอุดกั้นของทางเดินหายใจ
เมื่อพบเสียงหะ พยาบาลควรทำการ suction เพื่อให้ผู้ป่วยได้หายใจสะดวก
การดูแลเครื่องช่วยหายใจ
ตรวจดูการทำงาน เเละป้องการการหลุดของสาย
การดูแลท่อหลอดลมและความสุขสบายในช่องปากของผู้ป่วย
ตำแหน่งของท้่อหลอดลมควรอยู่บริเวณไหน เพื่อให้ผู้ป่วยได้ัรับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
การป้องกันภาวะฟอดแฟบ
การดูแลปริมตรที่ผู้ป่วยได้รับให้ควงที่ เพื่อให้ผู้ป่วยได้แลกเปลี่ยนการหายใจได้อย่างเพียงพอ
ประเมินภาวะแทรกซ้อน
เนื่องจากร่างกายอาจมีการเปลี่ยนแปลงแล้วทำให้เกิดอันตราย
การติดตามผลLab
การติดตามผลเพื่อประเมินภาวะความเป็นกรดด่างของร่างกาย เพื่อปรับในการตั้งเครื่องช่วยหายใจให้เหมาะสม
การดูแลด้านจิตใจ
การดูแลด้านจิตใจของผู้ป่วยเนื่องจาก ผู้ป่วยที่นอนนานๆ เกิดถภาวะวิตกกังวล การท้อแท้ การที่ต้องพึ่งพาคนอื่น พยาบาลต้องดูแลสภาพจิตใจของผู้ป่วยเพื่อให้เกิดความสบายใจ
การหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ขั้นตอนที่ 2 ขณะหย่าเครื่องด้วยหายใจ
4.จัดท่าศีรษะสูงหรือท่านั่ง
5.เริ่มทำการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
3.ดูดเสมหะเพื่อให้ทางเดินหายใจโล่ง
6.v/s และวัดSatO2
2.อธิบายวิธีการหย่าเครื่องช่วยหายใจคร่าวๆ เพื่อลดความกลัว
7.เฝ้าระวังอาการเปลี่ยนแปลงทุก15 นาทีถึง 1 ชั่วโมง
1.ควรเริ่มหย่าเครื่องช่วยหายใจในตอนเช้าหลังจากผู้ป่วยพักผ่อนเต็มที่ในเวลากลางคืน
8.กรณีpt.ไม่สามารถหย่าเครื่องได้โดย T piece 10 L/M
ขั้นตอนที่ 1 ก่อนหย่าเครื่องช่วยหายใจ
การประเมินความพร้อมของผู้ป่วยที่สามารถทำการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
T piece
การใช้เครื่องช่วยหายใจ mode
CPAP
PSV
SIMV
ขั้นตอนที่ 3 หลังหย่าเครื่องช่วยหายใจ
2.ให้ O2 make with collugate 10 L/min 2 ชั่วโมง หลังจากนั้น O2 cannula 3-6 L/min
3.วัดสัญญาณชีพทุก15-30นาทีและทุก1 ชั่วโมงจนกว่าจะคงที่
1.จัดท่าpt.ศีรษสูง
การพยาบาลผู้ป่วยใส่สายสวนหลอดเลือด
การวัดความดันในหลอดเลือดแดง
เป็นวิธีการสอดใส่สายยางเข้าไปในเส้นเลือดเเดงและนำมาต่อกับเครื่องวัดเป็นการวัดความดันของหลอดเลือดแดงโดยตรง
Intervention
2.ดูแลระบบของaterial line ให้มีประสิทธิภาพ
3.ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
1.ตรวจสอบความแม่นยำของการปรับเทียบค่า
4.การป้องกันการติดเชื้อ
5.มีการเก็บตัวอย่างเลือดส่งตรวจทาง aterial line ต้อง flush สาย ไม่ให้มีเลือดหรือฟองอากาศค้างในสาย
6.ตรวจสอบข้อต่อต่างๆให้แน่นอย่างสม่ำเสมอ
7.การป้องกันการเลื่อหลุด
8.ตรวจดูคลื่นที่แสดงการอุดตัน
9.จดบันทึก Arterial blood pressure ที่ได้ทุก 15-60 นาที
10.กรณีที่แพทย์ถอดสายยางออกแล้วควรกดตำแหน่งแผลไว้นาน อย่างน้อย 10 นาที หรือจนกว่าเลือดจะหยุด
การวัดค่าความดันในหลอดเลือดดำส่วนกลาง
การวัดความดันของเลือดดำส่วนกลาง หรือแรงดันเลือดของหัวใจบนหวา เพื่อประเมินระดับของปริมาณน้ำและเลือดในร่างกาย
Intervention
3.ป้องกันการติดเชื้อในกระแสเลือกจากการใส่สายสวนหลอดเลือดดำส่วนกลาง
3.3 ทำความสะอาดแผล
3.4 สวมปิดบริเวณข้อต่อด้วย Stopcock
3.2 ประเมินแผลบริเวณรอบๆ ที่คาสายสวนหลอดเลือดดำทุกเวรและทุกครั้ง
3.5 ในกรณีการเปลี่ยนชุดสารน้ำควรเปลี่ยนภายใน 72 ชั่วโมงและชุดให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำชนิดไขมัน ควรเปลี่ยน 24 ชั่วโมง
3.1 พิจารณาความจำเป็นในการคาสายสวนหลอดเลือด
3.6 เฝ้าระวังละดุูแลระบบการให้สารน้ำต้องเป็นระบบปิดตลอดเวลา
4.ป้องกันการอุดตันของสายสวน
2.ป้องกันการเลื่อนหลุดของสายสวน
5.การป้องกกันฟองอากาศเข้าหลอดเลือดโดยดูแลให้เป็นระบบปิด
1.ความแม่นยำของการเปรียบเทียบค่า
ยาที่ใช้บ่อยในผู้ป่วยวิกฤต
3.ยาที่ใช้ในภาวะ Tachyarrhythmia
3.1 Adenosine
3.2 Digoxin
4.ยากระตุ้นความดันโลหิต(Vasopressor)
4.1 Dopamine
4.2 Dobutarmine
4.3 Norepinephrine
2.ยาที่ใช้ในภาวะ Bradyarrhythmia
2.1 Atropine
5.ยาขยายหลอดเลือด(Vasodilators)
5.1 Nicardipine
5.2 Sodium Nitroprusside
5.3 Nitroglycerin
1.ยาที่ใช้ในภาวะ Pulseless Arrest
1.1 Epinephrine/Adrenaline
1.2 Amiodarone
นางสาวกัญญาพัชร โตสกุล 6001211344 61A