Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบสุขภาพกับเศรษฐศาสตร์สุขภาพ - Coggle Diagram
ระบบสุขภาพกับเศรษฐศาสตร์สุขภาพ
แนวคิดเรื่องสุขภาพ
สาธารณสุข (Health)
สาธารณสุขศาสตร์ “ศาสตร์และศิลปะที่ เกี่ยวข้องกับการดูแลและจัดการสุขภาพทั้งปวงของชุมชนโดยอิงตามการวิเคราะห์ ด้านสุขภาพของประชากร ”
องค์ประกอบ และคำถามเบื้องต้นในการศึกษาเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข
ระบบการให้บริการสาธารณสุข (Health care system)
การดำเนินการทางด้านการรักษาพยาบาล (Health care service)
สุขภาพ (Health)
•ผลิตอะไร What? •ผลิตอย่างไร How? •ผลิตเพื่อใคร For whom?
ความสัมพันธ์ระหว่างระบบสุขภาพกับเศรษฐกิจ
หมายถึง ระบบการจัดการสุขภาพทั้งมวล ที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ และปัจจัยต่าง ที่เกี่ยวกับสุขภาพ ได้แก่ ปัจจัยด้านบุคคล สภาพแวดล้อมทางกายภาพ ชีวภาพ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การศึกษา กฎหมาย ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นต้น รวมทั้งปัจจัยด้านระบบบริการสุขภาพด้วย
ระบบบริการสุขภาพ ( Type of health care system)
• ระบบสุขภาพแบบครอบคลุมและเท่าเทียมกัน รัฐได้มีบทบาทในระบบบริการ
• ระบบสุขภาพแบบสวัสดิการ เป็นระบบบริการสาธารณสุข ที่รัฐได้เข้ามา
• ระบบสุขภาพแบบสังคมนิยม รัฐเข้าไปจัดการสุขภาพอย่างสิ้นเชิง และไม่
• ระบบสุขภาพแบบเสรีนิยม มีการจัดบริการสุขภาพในรูปแบบเอกชนที่แข่งขัน
การเข้าถึงบริการ(Accessibility)
• การเข้าถึงแหล่งบริการ (Accessibility)
• ความสะดวกและสิ่งอำนวยความสะดวกของแหล่งบริการ (Accommodation)
• ความเพียงพอของบริการที่มีอยู่ (Availability)
• ความสามารถในการจ่าย (Affordability)
• การยอมรับคุณภาพ (Acceptability)
ระบบบริการสุขภาพ
การผลิตสินค้าและบริการสาธารณสุขโดยภาครัฐ
การผลิตสินค้าและบริการสุขภาพโดยภาครัฐมีจุดหมายหลักไม่ใช่การแสวงหากำไรสูงสุดแต่เพื่อการกระจายบริการให้ทั่วถึงที่สุด และเพื่อยกระดับสถานะสุขภาพอนามัยของประชาชนให้ได้ผลสูงสุด
แนวคิดในการจัดสรรทรัพยากรสุขภาพ พิจารณาจาก Need
ลักษณะที่ 2
ผลของสุขภาพที่มีต่อเศรษฐกิจของประเทศ เช่นด้านการควบคุมโรค โรคระบาด และการสุญเสียประสิทธิภาพในการทำงาน
บทเจ้าหน้าที่กับเศรษฐศาสตร์ สาธารณสุขเพื่อการจัดบริการสุขภาพ
• ใช้ข้อมูลทางเศรษฐศาสตร์เพื่อใช้ในการเลือกดูแลสุขภาพ การวิเคราะห์ความน่าจะเป็น (Probability)
การวิเคราะห์การตัดสินใจ (Decision-making Analysis) ให้เข้าใจแผนงบประมาณและนำมากำหนดนโยบายสุขภาพ (การจัดสรรและการกระจาย)
ลักษณะที่ 1
ผลกระทบของเศรษฐกิจที่มีต่อสุขภาพ เช่น การว่างงาน ในสภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ
ประเภทการศึกษาเศรษฐศาสตร์ในระบบสุขภาพ
•เศรษฐศาสตร์สุขภาพระดับมหาภาค (Macroeconomic study) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับระบบสุขภาพโดยรวม
• เศรษฐศาสตร์สุขภาพระดับจุลภาค (Microeconomic study) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับระบบสุขภาพระดับย่อย
ประสิทธิภาพ (Effectiveness)
การวิจัยด้านเศรษฐศาสตร์ สาธารณสุข (Type of health economics study)
ความปลอดภัย (Safety)
สัมฤทธิผล (Efficacy)