Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต ระบบหัวในและการไหลเวียนโลหิต - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต ระบบหัวในและการไหลเวียนโลหิต
Hypertensive crisis
การรักษา
มีเป้าหมายเพื่อลดแรงดันในหลอดเลือดแดงลง 20-30% ใน 1 ชั่วโมงแรก และ 160/100 ใน 6 ชั่วโมง
ให้ยาลดความดันโลหิตที่ออกฤทธิ์เร็วและหมดฤทธิ์เร็ว
Sodium nitroprusside
Nitroglycerine
อาการและอาการแสดง
ขึ้นอยู่ Targed organ damage
ระบบหัวใจ
Acute cardiovascular syndromes
Miocardial infraction
Unstable angina
Pulmonary edema
Aortic dissection
ตา
Hypertensive retinopathy
ระบบประสาทและสมอง
Hypertensive encephalopathy
ไต
การพยาบาล
ระยะเฉียบพลัน
เฝ้าระวังอาการที่เกิดขึ้นตามระบบ TOD
ระหว่างได้รับยา
ในผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจและหลอดเลือดไม่ควรลด SBP ต่ำกว่า 120 mmHg และ DBP ที่เหมาะสมคือ 70-79 mmHg เพื่อป้องกันภาวะ Miocardial ischemia
ในผู้ปวยที่มีสมองขาดเลือดร่วมกับความดันโลหิตสูงวิกฤต ควรควบคุมความดันโลหิตให้ต่ำกว่า 180/105 mmHg ใน 24 ชั่วโมงแรก แต่ไม่เกินร้อยละ 15 ของค่าความดันโลหิตเริ่มต้น
ในกรณีที่ได้รับยา Sodium nitroprusside
สังเกตอาการและอาการแสดงของความดันโลหิตต่ำ
ประเมิน IV side เพื่อป้องกันภาวะ Phlebitis
ไม่ควรให้ยาโดนแสงตลอดระยะเวลาของการให้
กรณีที่ได้รับยา Nitroglycerine
ผู้ป่วยอาจมีอาการปวดศีรษะ ดูแลให้ได้รับยา พาราเซตมอล
ถ้าระดับความดันโลหิตดีขึ้นสามารถปรับลดยาได้
สาเหตุ
การหยุดยาความดันโลหิตทันที
Exacerbation of chronic hypertension
Acute or chronic renal disease
การใช้ยาบางชนิดเช่น ยาคุมกำเนิด ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช้สเตียรอยด์
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนปลายไม่เพียงพอ (Risk for ineffective peripheral tissue perfusion)
วิตกกังวล (Anxiety related to threat to biologic, psychologic, or social integrity)
เสี่ยงต่อเลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ (Risk for ineffective cerebral tissue perfusion)
พร่องความรู้ (Deficient knowledge related to lack of previous exposure to information)
การประเมินปัญหา
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ; ตรวจเพื่อประเมินตาม TOD
ระบบหัวใจ
Troponin
EKG
CXR
Cardiac emzyme
ตา
ตรวจหาภาวะ cotton-wool spots and hemorrhages
ระบบประสาทและสมอง
CT
MRI
ไต
GFR
BUN, Creatinine
หาอัลบูมินในปัสสาวะ
การซักประวัติ; ซักประวัติตามสาเหตุ และตามระบบ TOD
ตรวจร่างกาย; ตรวจร่างกายตามTOD
ระบบหัวใจ
ประเมินอาการเจ็บหน้าอก
ประเมินภาวะ pseudohypotension
ตา
ตรวจจอประสาทตา ถ้าพบ Papilledema ช่วยประเมินภาวะ increased intracranial pressure
ประเมินภาวะ cotton-wool spots and hemorrhages
ไต
ประเมินอาการของ oliguria or azotemia (excess urea in the blood) แสดงถึงภาวะไตถูกทำลาย
ระบบประสาทและสมอง
Neurological sign
ประเมิน GCS
Cardiac dysrhythmias
Ventricular tachycardia (VT)
ประเภทของ VT
Sustained VT คือ VT ที่เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลานานกว่า 30วินาที่ ซึ่งมีผลทำให้ระบบไหลเวียนโลหิตในร่างกายลดลง
Monomorphic VT คือ VT ที่ลักษณะของ QRS complex เป็นรูปแบบเดียว
Nonsustained VT คือ VT ที่เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลาน้อยกว่า 30วินาที
Polymorphic VT หรือ Torsade คือ VT ที่ลักษณะของ ORS complex เป็นรูปแบบเดียว
Ventricle เป็นจุดกำเนิดการเต้นของหัวใจ มีอัตราเร็วมากแต่สม่ำเสมอ 150-250 ครั้ง/นาที
ไม่มี P wave
QRS complex กว้างมากกว่า 3 ช่องเล็ก
การพยาบาล
คลำชีพจร
คลำชีพจรไม่เจอ
ทำ Defibrillation
คลำชีพจรเจอ
ทำ synchronized cardioversion
ร่วมกับแพทย์ในการดูแลให้ได้รับยาและแก้ไขสาเหตุหัวใจเต้นผิดจังหวะ
นำเครื่อง Defibrillator มาที่เตียงผู้ปวยและรายงานแพทย์ทันที และเปิดหลอดเลือดดำเพื่อให้ยาและสาร
ทำ CPR ถ้าหัวใจหยุดเต้น
อาการ
ใจสั่น ความดันโลหิตต่ำ หน้ามืด เจ็บหน้าอก หายใจลำบาก หัวใจหยุดเต้น
Ventricular fibrillation (VF)
สาเหตุ
5H
Hydrogen ion (acidosis)
Hypokalemia และ Hyperkalemia
Hypoxia
Hypothermia
Hypovolemia
5T
Tension pneumothorax
Cardiac tamponade
Toxins
Pulmonary thrombosis
Coronary thrombosis
อาการและอาการแสดง
หมดสติ ไม่มีชีพจร รูม่านตาขยาย เนื่องจากหัวใจไม่สามารถสูบฉีดโลหิตออกมาได้ และเสียชีวิต
Ventricle มีจุดกำเนิดการเต้นของหัวใจตำแหน่งเดียวหรือหลายตำแหน่ง
ไม่มี P wave และระบุ QRS complex ไม่ได้
การพยาบาล
ติดตามผลข้างเคียงของยาที่ใช้ในการรักษาผู้ป่วยว่ามียาชนิดใดที่มีผลต่อ อัตรา และจังหวะการเต้นของหัวใจหรือไม่ ถ้าพบให้รายงานแพทย์ทันที
ติดตามและบันทึกอาการแสดงของภาวะอวัยวะและเนื้อเยื่อได้รับเลือดไปเลี้ยง (Tissue perfusion) ลดลง
ติดตามค่าเกลือแรในเลือด เพื่อหาสาเหตุนำของการเกิดภาวะหัวใจต้นผิดจังหวะ
ติดตามและบันทึกการเปลี่ยนแปลงของ สัญญาณชีพ คลื่นไฟฟ้าหัวใจ โดยเฉพาะ ST segment
ให้ยา antidysrhythmia ตามแผนการรักษา
ในผู้ป่วยที่เกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดไม่รุนแรงทำsynchronized cardioversion
ในผู้ป่วยที่อัตราการเต้นของหัวใจช้ากว่า 60 ครั้งต่อนาที ให้เตรียมอุปกรณ์สำหรับใส่ temporary pacing
ทำ CPR ร่วมกับทีมรักษาผู้ปวย ในกรณีเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดรุนแรง (lethal dysrhythmias)
ป้องกันภาวะ tissue hypoxia โดยให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา เมื่อ O2sat น้อยกว่า 93%
ในผู้ป่วย Stork หรือ Acute MI keep O2sat ที่ 90-94%
ในผู้ปวยที่เสี่ยงต่อการมีคาร์บอนไดออกไชด์คั่ง
keep O2satให้อยู่ระหว่าง 88-92%
Atrial fibrillation (AF)
ประเภทของ AF
Permanent AF
เป็นนานติดต่อกันกว่า 1 ปี
Recurrent AF
มีอาการซ้ำมากกว่า 1 ครั้ง
Persistent AF
ไม่สามารถหายได้เองใน 7 วันต้องอาศัยยา และการช็อคไฟฟ้า
Lone AF
เป็นในผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 60 ปี
Paroxysmal AF
มีอาการเป็นครั้งๆ สามารถหายได้เองภายใน 7 วัน
การพยาบาล; เพื่อเฝ้าระวังภาวะ RVR
ประเมินการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพและคลื่นไฟฟ้าหัวใจอย่างต่อเนื่อง
สังเกตอาการและอาการแสดงของการเกิดลิ่มเลือดอุดตัน สมอง ปอด แขนและขา
ดูแลให้ได้รับยาควบคุมการเต้นของหัวใจ
ดูแลให้ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือดตามแผนการรักษา
เตรียมผู้ปวยและอุปกรณ์ในการทำ Cardioversion เพื่อให้หัวใจกลับมาเต้นในจังหวะปกติ
เตรียมผู้ป่วยในการจี้ด้วยคลื่นไฟฟ้าความถี่สูง ในผู้ป่วยที่เป็น AF และไม่
สามารถควบคุมด้วยยาได้
เกิดจากจุดปล่อยกระแสไฟฟ้าใน Atrium ส่งกระแสไฟฟ้าออกมาถี่และไม่ทำให้กราฟ EKG
Pwave หลายตัว
อัตราการเต้นของ Atrium มากกว่า 350 ครั้ง/นาที
Ventricular rate ไม่แน่นอน
มากกว่า 100 ครั้ง/นาที
repid ventricular response(RVR) ทำให้เกิดลิ่มเลือดไออุดตันหลอดเลือดที่ปอด อาจทำให้มีอาการ FAST
น้อยกว่า 100 ครั้ง/นาที
อาการ
ใจสั่น อ่อนเพลีย เหนื่อยเวลาออกแรง คลำชีพจรที่ข้อมือได้เบา
Shock
การรักษา
Specific treatment
Obstructive shock
ให้น้ำเกลือ และใส่สาย ICD เพื่อdrain ออก
Cardioginic shock
ให้ยากระตุ้นการทำงานของหัวใจ
Distributive shock
Septic shock
ให้น้ำเกลือได้แต่ต้องมีการจำกัด นอกจากนี้มีการให้ยาปฏิชีนะ
Hypovolemic shock
ให้น้ำเกลือ
Supportive treatment
Breathing
ให้ออกซิเจน หรือพิจารณาใส่ท่อช่วยหายใจ
Circulation
พิจารณาการให้สารน้ำหรือ Vasopressors / inotropes ตามสาเหตุของช็อกแต่ละประเภท
Airwey
ประเมินการอุดกั้นในทางเดินหายใจส่วนบน หากมีให้เปิดทางเดินหายใจให้โล่ง
Fluid therapy; ให้ทาง Peripheral vein ที่ใกล้หัวใจมากที่สุด
Crystalloids; เป็นสารน้ำที่มีส่วนผสมของ electrolyte อาจทำให้เสียสมดุลของ electrolyte
Colloids; เป็นสารน้ำที่มีส่วนผสมของโปรตีนบางชนิดที่ทำให้เกิดอาการแพ้ได้ง่าย และอาจทำให้เกิดการอุดตันที่ไต
ประเภทของ Shock แบ่งตามพยาธิสภาพ
Low cardiac output shock (Hypodynamic shock); มี Cardiac output ต่ำ ร่วมกับการเกิด vasoconstriction
Obstructive shock
Cardiogenic shock
Hypovolemic shock
High cardiac output shock (Distrbutive shock, hyperdynamic shock); มี Cardiac output สูง ร่วมกับการเกิด vasodilatation
Endocrinologic shock
Neurogenic shock
Anaphylactic shock
Drug and toxin เช่น การรับประทานยาที่มีผลให้หลอดเลือดขยายตัว
Septic shock
Post-resuscitation syndrome จาก cardiac arrest
Vasoactive drug
กลไกการออกฤทธิ์
Positive chronotropic effect; เพิ่มอัตราการเต้นตัวของหัวใจ
Vasopressor effect; เพิ่มความต้านทานของหลอดเลือดส่วนปลาย
Positive inotrop effect; เพิ่มการบีบตัวของหัวใจ
การเลือกใช้ Vasoactive drugs ในช็อกประเภทต่างๆ
Odstructive shock
หาก SBP ต่ำกว่า 70 mmHg ให้ Dopamine หรือ norepinephrine
ถ้าดีขึ้นให้ Dobutamine
Hypovolemia shock
ไม่จำเป็นต้องให้ยา Vasoactive drugs
Septic shock
ให้สารน้ำก่อน ถ้าความดันโลหิตไม่ดีขึ้นให้ Norepinephrine ก่อน หรือให้Dopamine ในผู้ป่วยที่อัตราการเต้นของหัวใจช้า ในผู้ป่วยที่อัตราการเต้นของหัวใจเร็วให้ Dobutamine ถ้าไม่ดีขึ้นให้ยากลุ่ม norepinephrine
Endocarinologic shock
ให้สารน้ำในการรักษา หรือให้ยาต้านธัยรอยด์ ถ้าไม่ดีขึ้นให้ norepinephrine
Anaphylactic shock
ให้ Epinephrine (Adrenaline)
Neuroginic shock
ให้ Dopamine ก่อน
Cardioginic shock
ให้ยากลุ่ม inotrop
ให้ Dopamine ในผู้ป่วยที่อัตราการเต้นของหัวใจช้า
ให้ Dobutamine ในผู้ป่วยที่มีอัตราการเต้นของหัวใจเร็ว
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลและการพยาบาล
เสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจนเนื่องจาก ประสิทธิภาพในการหายใจลดลง
จัดท่า ให้ออกซิเจน ติดตามและประเมิน O2 sat
ผู้ป่วยและญาติวิตกกังวล
อธิบายการรักษา
ปริมาณเลือดออกจากหัวใจต่อนาทีลดลงเนื่องจาก ผู้ป่วยอยู่ในภาวะช็อค
ดูแลให้ได้รับสารน้ำ ประเมินสัญญาณชีพ
มีไข้เนื่องจาก มีการติดเชื้อในกระแสเลือด
เช็ดตัวลดไข้ ให้ยาลดไข้
Heart failure
ชนิดของHeart failure
แบ่งตามการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ
Diastolic heart failure หรือ Heart failure with preserved EF (HFPEF); หัวใจล้มเหลวร้วมกับมี DBP ผิดปกติ
Systolic heart failure หรือ Heart failure with reduced EF (HFREF); หัวใจล้มเหลวร่วมกับมี SBP สูง
แบ่งตามอาการและอาการแสดง
Right sided-heart failure; หัวใจห้องขวาล้มเหลว
Left sided- heart failure; หัวใจห้องซ้ายล้มเหลว
แบ่งตามระยะเวลาการเกิด
Chronic: หัวใจลัมเหลวที่มีอาการเรื้อรัง โดยอาจมีอาการคงที่ หรือ อาการมากขึ้น
Transient: หัวใจล้มเหลวที่มีอาการชั่วขณะ
New onset; เกิดขึ้นครั้งแรก โดยอาจเป็นแบบเฉียบพลัน หรือเกิดขึ้นช้า
แบ่งตาม Cardiac output
High-output heart filure; ร่างกายต้องการปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจมากกว่าปกติ
Low-output heart failure; คือ ภาวะที่หัวใจบีบเลือดออกจากหัวใจได้ น้อยลง
Acute heart failure; มีอาการเกิดขึ้นใหม่อย่างรวดเร็วหรือมีภาวะหัวใจล้มเหลวที่มีอาการคงที่แต่กลับแย่ลงในเวลาไม่นาน
Chronic heart failure; เป็นหัวใจวายล้มเหลวแล้วมีอาการกำเริบ
อาการและอาการแสดงของหัวใจล้มเหลว
อาการที่พบบ่อย
อาการบวมในบริเวณที่เป็นระยางส่วนล่างของร่างกาย
อ่อนเพลีย
Dyspnea
Dyspnea on exertion
Orthopnea
Paroxysmal nocturnal dyspnea, PND
แน่นท้อง ท้องอืด เนื่องจากตับโตจากเลือดคั่งในตับ
อาการแสดงที่พบบ่อย
หัวใจเต้นเร็ว (Tachycardia) หายใจเร็ว (Tachypnea)
เส้นเลือดดำ ที่คอโป้งพอง (Jugular vein distention)
หัวใจโต
เสียงหัวใจผิดปกติ อาจตรวจพบเสียง S3 หรือ S4 gallop หรือ Cardiac murmur
เสียงปอดผิดปกติเช่น crepitation
ตับโต (Hepatomegaly) หรือน้ำ ในช่องท้อง (Ascites)
บวมกดบุม (Pitting edema)
การวินิจฉัย
EKG
บอกไดแค่ว่ามีการเต้นผิดจังหวะของหัวใจหรือไม่
การตรวจเลือด
บอกได้แค่ว่าหัวใจล้มเหลวส่งผลต่ออวัยวะใดของร่างกายแล้วบ้าง
CXR
Echocardiography เป็นที่นิยม ให้ผลชัดทีุ่ด
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษาและติดตามผลข้างเคียงของยา
ชั่งน้ำหนักตัวผู้ป่วยทุกวันในเวลาเดิม
ประเมิน V/S ทุก 1 ชั่วโมง
หากมีอาการหายใจล้มเหลว ควรฟังเสียงหายใจทุก 24 ชั่วโมง และดูแลให้ได้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
จำกัดน้ำประมาณ 800-1,000ซีซี/วัน
จัดท่านั่งศีรษะสูง 30-90 องศา (Fowler's position) หรือนั่งฟุบบนโต๊ะข้างเตียง
ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถผชิญกับความเจ็บป่วยด้วยภาวะหัวใจวายได้
กระตุ้นให้ผู้ป่วยระบสยความรู้สึกและรับฟังอย่างตั้งใจ
สอนและแนะนำเทคนิคผ่อนคลาย
ส่งเสริมและกระตุ้นให้ญาติ หรือครอบครัวดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาและการเปลี่ยนแปลงของอาการอย่างเหมาะสม
ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของหัวใจในการบีบเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆ ได้ดีขึ้น
แนะนำให้ผู้ป่วยปรับเปลี่ยนแบบแผนชีวิตในการควบคุมอาการหัวใจล้มเหลว
บทบาทพยาบาล; เน้นดูแลให้ผู้ป่วยตามเป้าหมายดังนี้
ผู้ปวยไม่มีภาวะน้ำเกินหรือขาดน้ำ
ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยโรคเบื้องต้นที่เป็นสาเหตุ
ผู้ปวยอาการหัวใจลัมเหลวดีขึ้น
ผู้ป่วยได้รับการค้นหาสาเหตุหรือปัจจัยที่ทำให้อาการกำเริบ