Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เทคโนโลยี และยาาที่ใช้บ่อยใน ICU - Coggle…
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เทคโนโลยี และยาาที่ใช้บ่อยใน ICU
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครืองช่วยหายใจ
ด้านจิตใจ
กลัวตาย กลัวเครื่องหลุด บางรายรู้สึกท้อต้องพึ่งพาผู้อื่นตลอด
ไม่สามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้
วิธีการรักษาอย่างมีเหตุผล
แจ้งให้ทราบทุกครั้งเมื่อต้องให้การพยาบาล
ให้ความมั่นใจว่าจะได้รับการดูแลรักษาอย่างดี
ดูแลจิตใจของครอบครัวและญาติ
จัดสิ่งแวดที่เหมาะสม
ดูแลความสุขสบายทั่วไป ลดสิ่งรบกวนต่างๆ
ด้านร่างกาย
ประเมินสภาพผู้ป่วยและภาวะแทรกซ้อน
รายงานแพทย์ทันทีเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง
สัญญาณชีพทุก 1 ชม.
ระดับความรู้สึก
ความรู้สึกผอดปกติ
อาการชา กระตกตามปลายมือปลายเท้า ริมฝีปาก
เสียงหายใจที่เปลี่ยนแปลง
ภาวะแทรกซ้อน
Tension pneumothorax
Subcutaneous emphysema
Stress ulcer
เลือดออกในกระเพาะอาหาร
ท้องอืด ลำไส้ไม่ทำงาน
ดูแลท่อหลอดลมและความสุขสบายในช่องปากผู้ป่วย
ตำแหน่งเหนือ Carina ประมาณ 1 นิ้ว
ปัญหาที่พบมาก
เกิดการระคายเคืองในช่องปาก สูญเสียการกลืน
หมั่นทำความสะอาดปากและฟัน Mouth care ดูดเสมหะ
เปลี่ยน Oropharyngeal airway ทุกครั้งหลังทำความสะอาดปาก
พลิกตะแคงตัวหรือจัดศีรษะผู้ป่วยตะแคง
การป้องกันไม่ให้เกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจ
ดูดเสมหะเมื่อพบเสมหะมาก เทคนิคปราศจากเชื้อ ทำเบามือและรวดเร็ว
ให้ความชื้นในทางเดินหหายใจ
ไม่มีข้อห้าม ให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอ
ดูแลให้เครื่องช่วยทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ
ตรึงอยู่กับที่ไม่ให้ดึงรั้ง
ข้อต่อเครื่องกับท่อหลอดลมผู้ป่วยพอดี
ไม่มีน้ำขังตามสาย
ดูแลน้ำกลั่นในกระป๋องอยู่ในระดับกำหนด
การป้องกันภาวะปอดแฟบ
ชายปอดมีโอกาสเกิดภาวะ Micro atelectasis
ป้องกันโดยทำ Deep lung inflatingโดยใช้ Ambu bag
การติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Electrolyte imbalance
ค่าก๊าซในหลอดเลือดแดง (ABGs)
การหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ขั้นที่ 1 ก่อนหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ประเมินความพร้อม
โรคหรือสาเหตุที่ต้องใส่เครื่องช่วยหายใจ
มีการแลกเปลี่ยนแก๊สเพียงพอ
ค่า PEEP น้อยกว่า 5 เซนติเมตร
รู้สึกตัว ทำตามคำสั่งได้
สัญญาณชีพปกติ
T=<38 องศาเซลเซียส
PR=<100 ครั้ง/นาที
RR=<30 ครั้ง/นาที
ฺBP systolic 90-160 มม.ปรอท
ค่า STV เมื่อถอดเครื่องช่วยหายใจแล้ว > 5 มิลลิตร/น้ำหนกตัว1 กิโลกรัม
ความสามารถในการหายใจเองผู้ป่วย
ใช้ยาระงับประสาทเพียงเล็กน้อยเท่านั้น
ไม่ใช้ยากระตุ้นหัวใจ
สามารถไอได้ดี สังเกตจากขณะดูดเสมหะ
วิธีการหย่า
1.หายใจเองทาง T piece
หายใจผ่าน T piece ต่อกับ colluguted tube
เริ่มให้ 10 ลิตรต่อนาทีใช้เวลา ครึ่งชั่วโม-2ชม.
กรณีไมาสามารถหย่าเครื่องช่วยหายใจได้
ให้ได้พัก 24 ชม. เริ่มอย่าอีกครั้งในวันถัดมา
ผู้ป่วยไม่สามารถใช้วิธีนี้
ผู้ป่วยหัวใจล้มเหลว
ปอดอุดกั้นเรื้อรังง
โรคกล้ามนื้ออ่อนแรง neuromuscular disorder
2.การใช้เครื่องช่วยหายใจ Mode SIMV , PSV,CPAP
2.1.SIMV
สำหรับผู้ป่วยใส่เครื่องช่วยหายใจมานานและใช้แบบ T piece ไม่ได้ผล
PSV
เครื่องปล่อยแรงดันช่วงที่ผู้ป่วยหายใจเข้าด้วยตนเอง
CPAP
ปล่อยแรงดันบวกเข้าปอดตลอดเวลาลดการออกแรง
ขั้นที่2 ขณะอย่าเครื่องช่วยหายใจ
1.เริ่มหย่าตอนเช้าหลังพักเต็มที่
2.อธิบายการหย่าเครื่องช่วยหายใจคร่าวๆ
3.ดูดเสมหะให้ทางเดินหายใจโล่ง
4.จัดท่าศีรษะสูงหรือนั่ง
5.เริ่มทำการหย่าตามแผนการรักษา
6.วัดสัญญาณและความเข้มข้นออกซิเจน
7.เฝ้าระวังอาการเปลี่ยนแปลงทุก 15 นาทีถึง1 ชม.
การถอดท่อช่วยหายใจ
เกณฑ์พิจารณา
แพทย์พิจารณาให้ถอด
สามารถหายใจผ่าน T piece 10 ลิตร/นาที เกิน 2 ชม.
ไอขับเสมหะออกมาได้
รู้สึกตัวดีหือGCS>10 คะแนน
ประเมิน cuff leak test ผ่าน
วิธีในการถอดท่อช่วยหายใจ
1.จัดท่านั่งศีรษะสูง
2.ดูดเสมหะในปากและท่อช่วยหายใจ
3.แกะพลาสเตอร์ที่ยึดท่อ
4.เอาลมในกระเปาะท่อช่วยหายใจออก
5.กลั้นหายใจ ค่อยๆดึงออก ดูดเสมหะอีกครั้ง
6.ให้ออกซิเจน Mask with collugate 10 ลิตร/นาที
7.วัดสัญญาณชีพทุก 15 นาที
8.เฝ้าระวังอาการใกล้ชิด
ขั้นที่3 หลังหย่าเครื่องช่วยหายใจ
1.จัดท่าศีรษะสูง
2.ให้ออกซิเจน Mask with collugate 10 ลิตร/นาที
3.วัดสัญญาณชีพทุก 15-30 นาทีและทก1ชม.
การพยาบาลผู้ป่วยใส่สายสวนหลอดเลือด
การวัดความดันในหลอดเลือดแดง
ข้อบ่งชี้
1.การไหลเวียนลดลง
2.ได้รับการผ่าตัดซึ่งอาจเสียเลือดมาก
3.จำเป็นต้องตรวจการตรวจ arterial blood gas
4.ผู้ป่วยที่ใช้ inotropic drugsและvasoactive drug
5.ผู้ป่วยวัดความดันโลหิตยาก
การพยาบาล
ตรวจสอบความแม่นยำการปรับเทียบค่า
ดูระบบของ arterial line
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
การติดเชื้อ
การเกิดเนื้อตาย
Air embolization
ภาวะที่มีเลือดออกในเนื้อเยื่อ
การไหลเวียนเลือดส่วนปลายลดลง
การป้องกันการติดเชื้อ
ใช้ Sterile technique
หลีกเลี่ยงการปลดสายข้อต่อต่างๆ
ประเมินอาการและอาการแสดง
ทำแผลทุก 7 วัน
เปลี่ยนชุด Transducer
ตรวจสอบข้อต่อต่างๆให้แน่น
ป้องกันการเลือนหลุด
ตรวจดูคลื่นแสดงการอุดตัน
จดบันทึกค่า Arterial blood pressureทุก 15-60 นาที