Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เทคโนโลยี และยาที่ใช้บ่อยใน ICU, นางสาวอมรรัตน์…
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เทคโนโลยี และยาที่ใช้บ่อยใน ICU
เครื่องช่วยหายใจ (Mechanical ventilator)
ไม่สามารถหายใจเองได้ หรือหายใจไม่เพียงพอ มี
บทบาทสําคัญในการรักษาประคับประคองผู้ป่วยที่มีภาวะระบบหายใจล้มเหลวหรือระบบไหลเวียนล้มเหลว ซึ่ง เป็นการช่วยหายใจแบบแรงดันบวก “positive mechanical ventilator”
คําศัพท์
Tidal volume (VT)
ปริมาตรอากาศที่หายใจเข้าและออกจากปอดใน 1 ครั้ง
Respiratoryrate(RR)
การตั้งอัตราการหายใจให้กับผู้ป่วยสําหรับผู้ใหญ่จะอยู่ระหว่าง12-20ครั้ง/นาที
Minute volume (MV)
ปริมาตรลมหายใจออกทั้งหมดใน 1 นาที
Peak flow (PF)
อัตราการไหลของอากาศเข้าสู่ปอด
Sensitivity
ความไวของเครื่องที่ผู้ป่วยต้องออกแรงกระตุ้นเครื่อง
Inspiratory time: Expiratory time (I:E)
อัตราส่วนระหว่างเวลาที่ใช้ในการหายใจเข้าต่อเวลาที่ใช้ในการหายใจออก
Positive End Expiratory Pressure (PEEP)
ความดันในช่วงหายใจออกสุดท้ายมีแรงดันบวกค้างไว้ในปอด ลดแรงในการหายใจ ป้องกันปอดแฟบ (Atelectasis) คือจะมีลม ค้างอยู่และเพิ่มพื้นที่ในการแลกเปลี่ยนก๊าซ
Fraction of Inspired Oxygen (Fio2)
ระดับความเข้มข้นของออกซิเจนในอากาศท่ีเครื่องปล่อยเข้าผู้ป่วย
ข้อบ่งชี้การใช้เครื่องช่วยหายใจ
ภาวะพร่องออกซิเจน (oxygenation failure)
ความจําเป็นในการใช้ ออกซิเจนในปริมาณสูง
ผู้ป่วยที่ได้รับอุบัติเหตุ ผู้ป่วยที่มีการเสียเลือดและผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อ
ความล้มเหลวของการระบายอากาศ (ventilation failure)
ผู้ป่วยที่ซึมมาก ผู้ป่วยโรคหืด ผู้ป่วยโรคถุงลมโป่งพอง ปริมาณการสร้างคาร์บอนไดออกไซด์ มากกว่าการระบายออกของระบบทางเดินหายใจ
ภาวะของความเป็นกรดในเลือด (respiratory acidosis)
กล้ามเนื้อกะบังลมไม่มีแรง (diaphragm fatigue)
ได้รับยาที่กดศูนย์หายใจ ความผิดปกติของ ระบบประสาทส่วนกลางหรือระบบประสาทส่วนปลาย
ระบบไหลเวียนโลหิตในร่างกายผิดปกติ
ภาวะช็อกร่างกายมีความต้องการออกซิเจนปริมาณสูง ภาวะดังกล่าวทําให้เลือดไปเลี้ยงอวัยวะอื่น ๆ ลดลง
ชนิดของเครื่องช่วยหายใจ
Non-invasivepositiveventilator;NPPV
ไม่มีท่อทางเดินหายใจ
ไม่เหมาะสําหรับผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพของปอดที่รุนแรง
ไม่ได้รับออกซิเจน 100%
Invasive positive ventilator
เครื่องช่วยหายใจที่ใช้มากที่สุดในภาวะ วิกฤต
การแบ่งประเภทของเครื่องช่วยหายใจ (Mode of ventilator)
Controlmandatoryventilation(CMV)
ช่วยหายใจที่การหายใจทุกครั้งถูกกําหนดด้วยเครื่องช่วยหายใจทั้งหมด โดยผู้ป่วยไม่มี
การหายใจเองเลย ก
Spontaneous ventilation
ผู้ป่วยเป็นผู้เริ่มการหายใจเอง รวมถึงเป็นผู้ กําหนดระยะเวลาและปริมาตรอากาศที่หายใจเข้าด้วยตนเองทั้งหมด
Continuouspositiveairwaypressure(CPAP)
ไม่มีการส่งแรงดันช่วยเพิ่มขณะที่ผู้ป่วยหายใจเข้า
Pressuresupportventilator(PSV)
ช่วยผู้ป่วยในขณะที่ผู้ป่วย สามารถหายใจได้เอง
Synchronized Intermittent mandatory ventilation (SIMV)
หายใจเองและการหายใจด้วยเครื่องช่วยหายใจ
ภาวะแทรกซ้อนจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ
ผลต่อระบบหัวใจและไหลเวียนเลือด
เลือดดําไหลกลับหัวใจลดลง
ภาวะถุงลมปอดแตก(Pulmonarybarotrauma)
ภาวะที่มีลมรั่วจากถุงลมเนื่องจากการใช้ เครื่องช่วยหายใจชนิดความดันบวก
การบาดเจ็บของปอด
ความดันสูงสุดใน ทางเดินหายใจ (Peak airway pressure) หรือความดันคงค้างในถุงลมปอดมากกว่า 35 เซนติเมตรน้ํา ทําให้ ถุงลมถ่างขยายมากเกินไป
ภาวะปอดแฟบ(Atelectasis)
การตั้งปริมาตรการหายใจตำ่และไม่มีการ ตั้งถอนหายใจ (sigh)
การบาดเจ็บของทางเดินหายใจ (Artificial airway complication)
ความดันในกระเปาะลมที่มีค่าสูงกว่าค่าดังกล่าวจะสูงกว่าความดันหลอดเลือดฝอยของเยื่อบุ หลอดลม สามารถกดผนังหลอดลม จนทําให้เกิดภาวะขาดเลือด
การเกิดปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ (Ventilator Associated Pneumonia; VAP)
การสําลักเชื้อจุลชีพจากปากหรือลําคอผ่าน หลอดลมเข้าสู่ปอดหรือการหายใจเอาละอองที่มีจุลชีพเข้าไปในปอด
ระบบทางเดินอาหาร
การเคลื่อนไหวของลําไส้ลดลงเนื่องจากภาวะพร่องออกซิเจน การได้รับยาสงบ ประสาทหรือยาแก้ปวด ภาวะเครียดหรือจากการกลืนอากาศเข้าไปขณะใส่ท่อหลอดลม
ภาวะพิษจากออกซิเจน(Oxygentoxicity)
ได้รับความเข้มข้นของออกซิเจนมากกว่า0.6 นานเกิน 24-48 ชั่วโมงขึ้นไป จะทําให้มีการทําลายของเนื้อปอด
ผลต่อภาวะโภชนาการ
งดน้ํางดอาหาร ทําให้ร่างกายต้องนํากลูโคสที่สะสมที่ตับมาใช้เพื่อนําไปใช้ในการสังเคราะห์ น้ําตาลทําให้ผลเสียต่อการทํางานหลายระบบ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลด้านจิตใจ
ประคับประคองด้านจิตใจโดยอธิบายเกี่ยวกับการเจ็บป่วย วิธีการรักษาอย่างมีเหตุผล แจ้งให้ทราบทุก ครั้งเมื่อต้องให้การพยาบาล
การดูแลด้านร่างกาย
ประเมินสภาพผู้ป่วยและภาวะแทรกซ้อน
สัญญาณชีพ ต้องประเมินทุก 1 ชั่วโมง ระดับความรู้สึกตัว ความรู้สึกที่ผิดปกติ
การดูแลท่อหลอดลมและความสุขสบายในช่องปากของผู้ป่วย
การใส่ลมในกระเปาะ ควรอยู่ระหว่าง 20-25 มิลลิเมตร ปรอท
หลอดลมคอควรอยู่ เหนือ Carina ประมาณ 1 นิ้ว
การดูแลให้เครื่องช่วยหายใจทํางานอย่างมีประสิทธิภาพ และดูแล Tubing system ของเครื่องช่วย หายใจให้เป็นระบบปิด
ตรึงอยู่กับที่ไม่ให้ดึงรั้ง
การป้องกันไม่ให้เกิดการอุดกั้นของทางเดินหายใจ
การดูดเสมหะโดยเทคนิคปราศจากเชื้อ (sterile technique) เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
การป้องกันภาวะปอดแฟบ
การทํา Deep lung inflating โดยการใช้ Self-inflating bag (Ambu bag) บีบลมเข้าปอด หรือโดยการตั้งค่า Sigh
การติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่สําคัญ
ประเมินภาวะความเป็นกรดด่างของร่างกาย และภาวะพร่องออกซิเจนในเลือด ภาวะคาร์บอนไดออกไซด์คั่ง เพื่อทําการปรับตั้งเครื่องช่วยหายใจให้เหมาะสม
การหย่าเครื่องช่วยหายใจ (Weaning)
ขั้นตอนที่ 1 ก่อนหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ประเมินความพร้อม
ผู้ป่วยหายใจเองทางTpieceหรือหายใจเองสลับกับเครื่องช่วยหายใจเป็นพักๆ
ยกเว้น ผู้ป่วยหัวใจล้มเหลว โรคปอดอุดกั้น เรื้อรัง
การใช้เครื่องช่วยหายใจ mode SIMV,PSV,CPAP
Synchronized Intermittent mandatory ventilation (SIMV)
หย่าเครื่องช่วยหายใจโดยเครื่องค่อยๆ ลดการช่วยเหลือจากเครื่องโดยการตั้งค่าการหายใจของเครื่องให้ต่กว่า การหายใจของผู้ป่วย
หย่าเครื่องช่วยหายใจโดยเครื่องค่อยๆ ลดการช่วยเหลือจากเครื่องโดยการตั้งค่าการหายใจของเครื่องให้ตำ่กว่า การหายใจของผู้ป่วย :
Pressuresupportventilation(PSV)
ผู้ป่วยเป็นผู้กําหนดอัตราการหายใจ เวลาในการหายใจเข้าและปริมาตรของ อากาศ (tidal volume) ด้วยตนเอง เครื่องจะทําการดันอากาศให้ผู้ป่วยไปเรื่อย ๆในระดับความดันที่เรา กําหนด
ContinuousPositiveAirwayPressure(CPAP)
เครื่องช่วยหายใจปล่อยแรงดันบวกเข้าปอดตลอดเวลา:
ขั้นตอนที่ 2 ขณะหย่าเครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่หย่าเครื่องช่วยหายใจ
ดูดเสมหะในปากและท่อช่วยหายใจเพื่อให้ทางเดินหายใจโล่ง
จัดท่าของผู้ป่วยให้อยู่ในท่าศีรษะสูงหรือท่านั่ง
วัดสัญญาณชีพและความเข้มข้นของออกซิเจนปลายนิ้ว (Oxygen saturation)
การถอดท่อช่วยหายใจ
รู้สึกตัวดีหรือ GCS>10 คะแนน
ประเมิน cuff leak test ผ่าน
วิธีในการถอดท่อช่วยหายใจ
จัดท่าให้ผู้ป่วยเป็นท่านั่งศีรษะสูง
ดูดเสมหะในปากและในท่อช่วยหายใจให้โล่ง:
เอาลมในกระเปาะท่อช่วยหายใจออกให้หมดโดยใช้ syringe
ให้ผู้ป่วยกลั้นหายใจ ค่อยๆดึงท่อช่วยหายใจออกและให้ผู้ป่วยไอขับเสมหะออกมา ดูดเสมหะอีกครั้ง
สัญญาณชีพทุก 15 นาที ทุก 30 นาทีและทุก 1 ชั่วโมงจนกว่าจะคงที่
O2 mask with collugate 10 ลิตร/นาที เป็นเวลา 2 ชั่วโมง
ขั้นตอนที่ 3 หลังหย่าเครื่องช่วยหายใจ
จัดท่าผู้ป่วยท่านั่งศีรษะสูง
O2 mask with collugate 10 ลิตร/นาที เป็นเวลา 2 ชั่วโมง หลังจากนั้นเป็น O2 cannula 3-6
ลิตร/นาที
สัญญาณชีพ
การพยาบาลผู้ป่วยใส่สายสวนหลอดเลือด (central line monitor)
การวัดความดันในหลอดเลือดแดง (intra-arterial monitoring)
ข้อบ่งชี้:
ความดันโลหิตตำ่
การผ่าตัดซึ่งอาจเสียเลือดได้มาก
ที่จําเป็นต้องการตรวจ arterial blood gas
inotropic drugs และ vasoactive drug
. ผู้ป่วยที่วัดความดันโลหิตยาก เช่น ผู้ป่วยถูกไฟไหม้ทั้งตัว
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใส่สายหลอดเลือดแดง (arterial line)
ตรวจสอบความแม่นยําของการปรับเทียบค่า (Accuracy):
Levelling the transducer จัดตําแหน่ง transducer ให้อยู่ในตําแหน่ง phlebostatic axis
Zeroing the transducer เป็นการปรับ transducer กับความดันบรรยากาศ (ให้อยู่ในระดับ 0) เพื่อเทียบกับเครื่อง monitor :
ดูแลระบบของ arterial line
0.9% NSS 500 cc ผสมกับ Heparin 2,000-2,500 ยูนิต
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
การติดเชื้อ (infection)
การเกิดเนื้อตาย (Skin necrosis)
Air embolization
ภาวะที่มีเลือดออกในเนื้อเยื่อ (Hematoma)
การวัดค่าความดันในหลอดเลือดดําส่วนกลาง (Central venous pressures; CVP)
ข้อบ่งชี้
สูญเสียเลือดจากอุบัติเหตุหรือจากการผ่าตัด ภาวะ shock และกรณีอื่นที่ทําให้ปริมาณเลือด และน้ําในร่างกายลดลง
ภาวะน้ําเกิน
ประเมินการทํางานของหัวใจและหลอดเลือด
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีสายสวนหลอดเลือดดําส่วนกลาง (Central venous pressures; CVP)
ความแม่นยําของการเปรียบเทียบค่า
Levelling the transducer จัดตําแหน่ง transducer ให้อยู่ในตําแหน่ง phlebostatic axis คือ
ตําแหน่ง 4th intercostal space ตัดกับ mid anterior-posterior line
Zero the transducer เป็นการปรับ transducer กับความดันบรรยากาศ (ให้อยู่ในระดับ 0)
ป้องกันการเลื่อนหลุดของสายสวน
ป้องกันการติดเชื้อในกระแสเลือด
ป้องกันการอุดตันของสายสวน
การป้องกันฟองอากาศเข้าหลอดเลือดโดยดูแลให้เป็นระบบปิด
ยาที่ใช้บ่อยในผู้ป่วยวิกฤต
ยาที่ใช้ในภาวะ Pulseless Arrest:
Epinephrine หรือ adrenaline
เพิ่ความสามารถในการบีบตัวของหัวใจ (positive inotropic effect) และอัตราการเต้นของหัวใจ
ใช้เป็นยาตัวแรกในการทําCPR
ผลข้างเคียง tachycardia, arrhythmias, hypertension
Amiodarone (Cordarone®)
อัตตราการเต้นของหัวใจลดลง
ใช้ในผู้ป่วยการเต้นหัวใจผิดจังหวะ
ยาที่ใช้ในภาวะ Bradyarrhythmia
Atropine
แก้ไขภาวะหัวใจเต้นช้าผิดปกติและ AV block
ยาที่ใช้ในภาวะ Tachyarrhythmia
Adenosine
สามารถยับยั้งการนําไฟฟ้าผ่าน AV node
ขนาดยาที่ใช้และการบริหารยา
Adenosine 6 mg/2 ml/vial ฉีดทางหลอดเลือดดําขนาด 6 mg ฉีดเร็ว ๆ ภายใน 1 – 3 วินาที ตาม ด้วย
NSS bolus 20 ml พร้อมกับยกแขนสูง (double syringe technique)
ยาที่ออกฤทธิ์ได้เร็ว (10 วินาที) และหมดฤทธิ์เร็ว จึงต้องฉีดเร็วๆ บริเวณ upper extremities และ flush NSS ตาม 20 ml ด้วยวิธี double syringe technique
ถ้าฉีดยาช้าเกินไปยาจะถูกทําลายหมดก่อนถึงหัวใจ เนื่องจากยามี half-life สั้นมากเพียง 0.5-5 วินาที
Digoxin (Lanoxin ®)
การบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจดีขึ้น
นำไปใช้
หัวใจเต้นผิดจังหวะแบบ atrial fibrillation (AF), atrial flutter และ supraventricular Tachycardia (SVT)
monitor EKG ขณะฉีดยา
ยาฉีด ประเมินสัญญาณชีพก่อนให้ยา และหลัง
ยากระตุ้นความดันโลหิต (Vasopressor)
Dopamine (Inopin®)
ส่งผลให้หลอดเลือดขยายตัว เพิ่มการไหลเวียนเลือดไปยังไต
Dobutamine
ทําให้กล้ามเนื้อหัวใจบีบตัวแรงขึ้น:
Norepinephrine (Levophed®)
เพิ่มความดันโลหิต
รักษาผู้ป่วยที่มีภาวะseptic shock และ cardiogenic shock ระดับรุนแรง
สารละลายที่ใช้เจือจางยาคือ D5W เท่านั้น ห้ามผสมใน NSS
ยาขยายหลอดเลือด (Vasodilators)
Nicardipine
ยับยั้งแคลเซียมเข้าเซลล์ของกล้ามเนื้อหัวใจและ
เซลล์กล้ามเนื้อเรียบของผนังหลอด
ผู้ป่วยที่มีภาวะ Hypertensive crisis
Sodium Nitroprusside
ยาขยายหลอดเลือดแดงและดํา
ใช้ในการลดความดันโลหิตในผู้ป่วย hypertensive emergency
ป้องกันยาในขวดน้ําเกลือทําปฏิกิริยากับแสงด้วยกระดาษ ผ้า หรือ aluminum foil ให้สังเกตว่าสี ของยาจะเปลี่ยนไปหากทําปฏิกิริยากับแสง
Nitroglycerin (NTG)
ยาขยายหลอดเลือดโดยการหลั่ง nitric oxide (NO) เข้าสู่กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือด
ลดความต้องการ ออกซิเจนของร่างกาย
monitor EKG ยาทําให้เกิดหัวใจเต้นเร็ว (Tachycardia)
ใช้ใน Acute coronary syndrome, Chest pain (angina pectoris) Heart failure โดยช่วยในการลด preload
นางสาวอมรรัตน์ สารการณ์ 6001210286 Sec B เลขที่14