Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับนิติเวชและนิติจิตเวช - Coggle Diagram
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับนิติเวชและนิติจิตเวช
การวินิจฉัย และขั้นตอนในการตรวจวินิจฉัยทางนิติจิตเวช
ส่วนที่เกี่ยวข้องกับความเจ็บป่วยทางจิต
การรวบรวมข้อมูล
ส่วนที่เกี่ยวข้องกับการก่อคดี โดยซักถาม
ข้อมูลที่เกี่ยวกับความเจ็บป่วยทางจิตเวช ตลอดจนการตรวจรักษาจากญาติ
สรุปผลการวินิจฉัย
การวินิจฉัยทางกฎหมาย (legal diagnosis)
ขณะตรวจ วิกลจริต และสามารถต่อสู้คดีได้หรือไม่
การวินิจฉัยทางคลินิก (clinical diagnosis) เพื่อการรักษาการพยากรณ์โรค
ขณะประกอบคดี สามารถรู้ผิดชอบ หรือบังคับตนเองได้หรือไม่
ความเห็นหรือข้อเสนอแนะ
การเตรียมตัวให้ปากคำต่อศาล
ขั้นตอนในการตรวจวินิจฉัยทางนิติจิตเวช
การตรวจทางจิตเวช ต้องรีบทำอย่างละเอียด
พิจารณาวัตถุประสงค์ คือ ต้องกระจ่างในความมุ่งหมาย
การวิเคราะห์วินิจฉัยโดยการรวบรวมข้อมูลทั้งหมดจากทีมนิติจิตเวชและเข้าประชุมสรุปร่วมกัน
ส่วนที่เกี่ยวกับคดี
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับนิติเวช และนิติจิตเวช
วิธีเพิ่มโทษ ลดโทษ และการรอการลงโทษ
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 56
ผู้ใดกระทำความผิดซึ่งมีโทษจำคุกไม่เกินสองปี ถ้าไม่ปรากฏว่าผู้นั้นได้รับโทษจำคุกมาก่อน
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 58
ถ้าภายในเวลาที่ศาลกำหนดตามมาตรา 56 ผู้ที่ถูกศาลพิพากษาให้กระทำความผิด อันมิใช่ความผิดที่ได้กระทำโดยประมาท
ความรับผิดชอบในทางอาญา
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 66
ความมึนเมาเพราะเสพย์สุรา หรือสิ่งเมาอย่างอื่น จะยกขึ้นเป็นข้อแก้ตัวตามมาตรา 65 ไม่ได้ เว้นแต่ ความมึนเมานั้นจะได้เกิดโดยผู้เสพย์ไม่รู้ว่าสิ่งนั้นจะทำให้มึนเมา
ความสามารถในการต่อสู้คดี หรือวิธีพิจารณาความอาญา
ประมวลกฎหมายมาตรา 14
หลักการพิจารณาความสามารถในการต่อสู้คดี
รู้ถึงความหนักเบาของโทษที่จะได้รับ
สามารถเล่ารายละเอียดของคดีได้
รู้ว่าตนเองต้องคดีอะไร
สามารถเข้าใจขั้นตอนการดำเนินคดี
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 246
ศาลมีอำนาจสั่งให้ทุเลาการบังคับให้จำคุกไว้ก่อน จนกว่าเหตุอันสมควรทุเลาจะหมดไป
วิธีการเพื่อความปลอดภัย ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 48
ถ้าศาลเห็นว่าการปล่อยตัวผู้มีจิตบกพร่อง โรคจิต
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 49
ในกรณีที่ศาลพิพากษาลงโทษ
ความหมายเกี่ยวกับผู้ดูแล
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 373
ผู้ใดควบคุมดูแลบุคคลวิกลจริต ปล่อยปละละเลยให้บุคคลวิกลจริตนั้น อาจเที่ยวตามลาพังต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าร้อยบาท
กฎหมายเกี่ยวกับความผิดทางอาญาของบุคคลวิกลจริต ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 65
การพิจารณาความผิดทางอาญา
ไม่สามารถบังคับตนเองได้
ไม่สามารถรู้ผิดชอบหมายถึงขณะประกอบคดีผู้ต้องหา
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ป.พ.พ. มาตรา 31
การใด ๆ อันบุคคลผู้ซึ่งศาลได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถได้ทำลงไปการนั้นท่านว่าเป็นโมฆียะ
ป.พ.พ. มาตรา 32
การใด ๆ อันบุคคลวิกลจริตได้ทำลง แต่หากบุคคลนั้นศาลยังมิได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถไซร้ ท่านว่าการนั้นจะเป็นโมฆียะ ต่อเมื่อพิสูจน์ได้ว่าได้ทำลงในเวลาซึ่งบุคคลนั้นวิกลจริตอยู่ และคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งได้รู้แล้วด้วยว่าผู้ทำเป็นคนวิกลจริต
ป.พ.พ. มาตรา 30
บุคคลผู้ซึ่งศาลได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถนั้น ท่านว่าต้องจัดให้อยู่ในความอนุบาล
ป.พ.พ. มาตรา 429
บุคคลใดแม้ไร้ความสามารถเพราะเหตุเป็นผู้เยาว์หรือวิกลจริตก็ต้องรับผิดในผลที่ตนละเมิดบิดา มารดา
ป.พ.พ. มาตรา 29
บุคคลวิกลจริตผู้ใด ถ้าภริยาสามีก็ดี ผู้บุพการีกล่าวคือ บิดา มารดา ปู่ย่า ตายาย ทวดก็ดี ผู้สืบสันดาน
ป.พ.พ. มาตรา 430
ครูบาอาจารย์ นายจ้างหรือบุคคลอื่นซึ่งรับดูแลบุคคลผู้ไร้ความสามารถอยู่เป็นนิตย์ก็ดี ชั่วครั้งชั่วคราวก็ดี จาต้องรับผิดร่วมกับผู้ไร้ความสามารถในการละเมิดซึ่งเขาได้กระทำลงในระหว่างที่อยู่ในความดูแลของตน ถ้าหากพิสูจน์ได้ว่าบุคคลนั้น ๆ มิได้ระมัดระวังตามสมควร
ความหมายและความสำคัญของนิติเวชและนิติจิตเวช
นิติเวช
การนำหลักทางการแพทย์ประยุกต์ใช้ เพื่อคลี่คลายข้อพิพาทและพิสูจน์ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับคดีความ
นิติจิตเวช
การนำหลักจิตเวชประยุกต์เพื่อประโยชน์ในกระบวนการยุติธรรมและความสงบของสังคม
จิตเวช
ความเจ็บป่วยทางจิต ความผิดปกติของอารมณ์และบุคลิกภาพ
กระบวนการเกี่ยวกับนิติจิตเวช
บุคคลที่สงสัยว่าวิกลจริต หรือมีปัญหาสุขภาพจิตขณะประกอบคดี
ถูกจับดำเนินคดี
ปล่อยตัวถ้าพิสูจน์ได้ว่าไม่ได้กระทำความคิด
มีหลักฐานว่ากระดำความผิด
ตรวจวินิจตาม มาตรา 14
รักษาตามขั้นตอน
อาการทางจิตไม่ทุเลา
อาการทางจิตทุเลา
ส่งกลับผู้นำส่งกระบวนการยุติธรรม
1 more item...
แจ้งผลการรักษาเป็นระยะ
อาการทางจิตทุเลา
งดสอบสวนหรือพิจารณาคดี
บทบาทของพยาบาลกับงานนิติจิตเวช
หลักการเขียนรายงานการชันสูตรพลิกศพ
รายงานการผ่าศพชันสูตร
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพื่อดูสารในร่างกาย
การลงความเห็นในเรื่องเหตุ และพฤติการณ์ที่ตาย
การตรวจชิ้นเนื้อ เพื่อดูพยาธิสภาพ
เขียนรายงาน ณ ที่เกิดเหตุ โดยมีการจดบันทึกเกี่ยวกับข้อเท็จจริงทั่วไป ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับศพ ความเห็นเกี่ยวกับศพ การดำเนินการเกี่ยวกับศพ
หลักการเขียนรายงานการชันสูตรบาดแผล
ข้อเท็จจริง (จำนวน ชนิด ตำแหน่ง ขนาด สิ่งแปลกปลอมที่พบในแผล ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ วิธีการรักษาพยาบาล และความผิดปกติที่เป็นผลจากการบาดเจ็บ)
บทบาทของพยาบาลกับการชันสูตรพลิกศพ
กฎหมายได้กำหนดให้ต้องทำการชันสูตรพลิกศพในกรณีที่สงสัยว่ามีการตายโดยผิดธรรมชาติหรือตายในระหว่างความควบคุมของเจ้าหน้าที่ (มาตรา 148) การตายโดยผิดธรรมชาติ
ถูกผู้อื่นทำให้ตาย (homicide)
ถูกสัตว์ทำร้ายตาย
การฆ่าตัวตาย (committed suicide)
ตายโดยอุบัติเหตุ
ตามประมวลวิธีพิจารณาความอาญาที่แก้ไขใหม่ (พ.ศ.2542) ได้ระบุว่าในกรณีมีผู้ถูกสัตว์ทำร้ายตาย และตายโดยอุบัติเหตุ ถ้าแพทย์ตามมาตรา 150 วรรคหนึ่งมีเหตุจำเป็นไม่สามารถไปชันสูตรพลิกศพได้ แพทย์อาจมอบหมายให้เจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาล
หลักการเก็บรักษาวัตถุพยาน
รวบรวมวัตถุพยานหรือสิ่งที่สงสัยว่าเป็นวัตถุพยาน
ส่งมอบวัตถุพยานด้วยความระมัดระวัง รัดกุม มีบันทึกการส่งมอบและผู้รับผิดชอบ
ป้องกันการปลอมแปลงเจือปน หรือเสื่อมสภาพ
แยกหีบห่อ การบรรจุซอง เขียนรายละเอียด
การบันทึกอาการและอาการแสดง
พยาบาลจะต้องเข้าไปมีบทบาทในการจัดการกับสิ่งของหรือทรัพย์สินที่มีติดตัวผู้ป่วยหรือศพมา หลักปฏิบัติ ในการเก็บรักษาสิ่งของหรือทรัพย์สิน ซึ่งจะเรียกได้ว่าเป็นวัตถุพยาบาล
เก็บข้อมูลของผู้ป่วยเป็นความลับ เว้นแต่เป็นเรื่องทางกฎหมาย
ใช้การสังเกต และการบันทึกอาการของผู้ป่วยอย่างละเอียด และเป็นระยะๆ
พยาบาลมีบทบาทที่ในการบาบัดรักษา ฟื้นฟูสมรรถภาพทางจิตใจ ติดตามผลการรักษาผู้ป่วย นิติจิตเวช ประสานงานกับทีมนิติจิตเวช และพิทักษ์สิทธิ์ของผู้ป่วยโดยแหล่งนาส่งผู้ป่วยนิติจิตเวช อาจเป็นญาติ ตำรวจ หน่วยงานราชการ ทนายหรือศาล