Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ - Coggle…
บทที่ 3กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
วิวัฒนาการของกฎหมายวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
เดิมอยู่ในความควบคุมของแพทย์ ภายใต้“พระราชบัญญัติการแพทย์ พ.ศ. 2466”
พ.ศ. 2472 มีการแก้ไขโดยการตัดสาขาสัตวแพทย์ออกโดยให้การประกอบโรคศิลปะเป็นการกระทำต่อมนุษย์เท่านั้น
พ.ศ. 2480 ได้มีการประกาศใช้กฎหมายฉบับใหม่คือพระราชบัญญัติควบคุมการประกอบโรคศิลปะพ.ศ. 2479
แผนโบราณ
แผนปัจจุบัน
พ.ศ.2528 ได้มีการประกาศใช้ “พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์พ.ศ. 2528”
ปัจจุบันใช้ “พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. 2528และที่แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2540”
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์สำหรับพยาบาลและการกระทำความผิดที่พบบ่อย
กฎหมายแพ่ง
ความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชนโดยทุกฝ่ายมีฐานะเท่าเทียมกัน
กฎหมายพาณิชย์
การค้าขายหรือกิจการใดๆ ที่ได้กระทำในเรื่องหุ้นส่วนบริษัท ประกันภัยตั๋วเงิน
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
วิธีการดำเนินพิจารณาพิพากษาคดีในกรณีที่เกิดข้อพิพาทในทางแพ่งขึ้น
องค์ประกอบของนิติกรรม
ผู้กระทำต้องแสดงออกในฐานะที่เป็นเอกชน
การกระทำโดยเจตนา
การกระทำที่ชอบด้วยกฎหมาย
ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวสิทธิ
ประเภทของนิติกรรม
นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามจำนวนคู่กรณี
นิติกรรมฝ่ายเดียว
นิติกรรมหลายฝ่าย
นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามการมีผลของนิติกรรม
นิติกรรมที่มีผลขณะผู้แสดงเจตนายังมีชีวิต
นิติกรรมที่มีผลขณะผู้แสดงเจตนาไม่มีชีวิต
นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามค่าตอบแทน
นิติกรรมที่มีค่าตอบแทน
นิติกรรมที่ไม่มีค่าตอบแทน
ความสามารถของบุคคลในการให้การยินยอมรักษาพยาบาล
ความสามารถของบุคคล (Capacity)
บุคคล
บุคคลธรรมดา
การตายโดยธรรมชาติ
การสาบสูญ
นิติบุคคล
ผู้เยาว์(Minor)
คนไร้ความสามารถ(Incompetence)
คนเสมือนไร้ความสามารถ(Quasi –incompetence)
ลูกหนี้ที่ถูกศาลสั่งเป็นบุคคลล้มละลาย
สามีภริยา
สภาพบังคับทางแพ่ง
โมฆะกรรม
โมฆียกรรม
การบังคับชำระหนี้
การชดใช้ค่าเสียหายหรือค่าสินไหมทดแทน
ความรับผิดทางแพ่งที่เกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ความรับผิดตามสัญญา
ความรับผิดตามสัญญา
ความรับผิดจากการละเมิด
การกระทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย
การกระทำโดยจงใจหรือประมาท
การกระทำโดยจงใจ
การกระทำโดยประมาทเลินเล่อ
ทำให้บุคคลอื่นเสียหาย
บุคคลต้องร่วมรับผิดกับผู้กระทำ
นายจ้างต้องร่วมรับผิดกับลูกจ้างในผลแห่งการละเมิด
ซึ่งลูกจ้างได้กระทำไปตามที่ว่าจ้าง
ตัวการต้องรับผิดชอบผลแห่งการละเมิดของตัวแทนที่ได้กระทำไปภายในของเขตอำนาจของตัวแทน ซึ่งกระทำตามที่ตัวการมอบหมาย
บิดามารดาของผู้เยาว์หรือผู้อนุบาลของผู้วิกลจริต ต้องร่วมรับผิดในผลแห่งการละเมิด
ครูบาอาจารย์นายจ้างหรือบุคคลอื่น ซึ่งรับดูแลผู้ไร้ความสามารถอยู่เป็นนิตย์ หรือชั่วครั้งคราว จะต้องร่วมรับผิดกับผู้ไร้ความสามารถในการละเมิด
อายุความ
ระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดให้บุคคลมีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด ถ้าผู้เสียหายใช้สิทธินั้นร้องเรียนต่อศาลเกินระยะเวลาที่กำหนด ศาลจะมีคำสั่งยกฟ้องได้ เนื่องจากคดีขาดอายุความ ทั้งนี้ผู้เสียหายมีสิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนอันเกิดจากการละเมิดภายใน 1 ปี นับแต่วันที่รู้เรื่องการละเมิดและรู้ตัวผู้กระทำละเมิด และไม่เกิน 10 ปี นับแต่วันทำละเมิด
กฎหมายอาญาสำหรับพยาบาลและ
การกระทำความผิดที่พบบ่อย
ความหมาย
กฎหมายอาญาเป็นกฎหมายมหาชน ซึ่งบัญญัติว่าการกระทำใดเป็นความผิดและกำหนดโทษอาญาแก่ผู้ฝ่าฝืน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อควบคุมความประพฤติของบุคคลให้อยู่ในสังคมด้วยความสงบเรียบร้อย
ประเภทของความรับผิดทางอาญา
ความผิดต่อแผ่นดิน
ความผิดต่อส่วนตัว
ลักษณะสำคัญของความรับผิดทางอาญา
ต้องมีบทบัญญัติความผิด และกำหนดโทษไว้โดยชัดแจ้ง
ต้องตีความเคร่งครัดตามตัวอักษร
ไม่มีผลย้อนหลังที่เป็นโทษ
หลักเกณฑ์ความรับผิดทางอาญา
การกระทำ
กฎหมายบัญญัติว่าการกระทำนั้นเป็นความผิดและกำหนดโทษ
การกระทำโดยเจตนา
การกระทำโดยประมาท (Negligence)
วิสัย
พฤติการณ์
การกระทำโดยไม่เจตนา
กระทำโดยเจตนา ประมาท หรือไม่เจตนา
เหตุยกเว้นความรับผิดทางอาญา
เหตุยกเว้นความรับผิด
การป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย
ผู้เสียหายยินยอมให้กระทำ
เหตุยกเว้นโทษ
กระทำด้วยความจำเป็น
การกระทำผิดเพราะความบกพร่องทางจิต
การกระทำตามคำสั่งของเจ้าพนักงาน
การกระทำของเด็กอายุไม่เกิน 10 ปี
การกระทำความผิดเกี่ยวกับทรัพย์
เหตุลดหย่อนโทษ
การกระทำความผิดโดยไม่รู้ว่ากฎหมายบัญญัติว่าเป็นความผิด
การกระทำโดยบันดาลโทสะ
เหตุอื่นๆ ในการลดหย่อนหรือบรรเทาโทษ
อายุความ
อายุความฟ้องคดีทั่วไป
อายุความ 20 ปีความผิดต้องระวางโทษประหารชีวิต
อายุความ 1 ปี ความผิดลหุโทษ
อายุความฟ้องคดีความผิดอันยอมความได้
ความผิดฐานบุกรุกหรือหมิ่นประมาท กฎหมายกำหนดให้ผู้เสียหายต้องร้องทุกข์ภายใน 3เดือนนับแต่วันที่รู้เรื่องและรู้ตัวผู้กระทำความผิด
โทษทางอาญา
โทษประหารชีวิต
โทษจำคุก
โทษกักขัง
โทษปรับ
โทษริบทรัพย์สิน
สาเหตุของความประมาทอาจเกิดจากการปฏิบัติการพยาบาลเกินขอบเขตวิชาชีพ หรือปฏิบัตินอกเหนือหน้าที่ หรืองดเว้นการกระทำ ในสิ่งที่ตนมีหน้าที่ต้อง
ไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ(Failure to follow standard of care)
ความบกพร่องด้านการสื่อสาร(Failure to communication)
ความบกพร่องด้านการประเมินและเฝ้าระวังอาการ(Failure to assess and monitor)
ความบกพร่องด้านการไม่พิทักษ์สิทธิของผู้ป่วย(Failure to act as patient advocate)
ความประมาทในการประกอบวิชาชีพกับการปฏิเสธการรักษา
ประมาททำให้ผู้อื่นได้รับอันตรายเล็กน้อยแก่ร่างกายหรือจิตใจ
ประมาททำให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส
การทอดทิ้งหรือละเลยผู้ป่วย
การเปิดเผยความลับของผู้ป่วย(Confidential disclosure)
การปฏิเสธความช่วยเหลือผู้ที่ตกอยู่ในอันตรายต่อชีวิต
ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร: การปลอมเอกสารและการทำหรือรับรองเอกสารเท็จ
ความผิดฐานปลอมเอกสาร
ความผิดฐานทำหรือรับรองเอกสารเท็จ
การทำให้หญิงแท้งลูก(Induced abortion)
การทำให้ตนเองแท้งลูก
การทำให้หญิงแท้งลูกโดยผู้เสียหายยินยอม
การทำให้หญิงแท้งลูกโดยผู้เสียหายไม่ยินยอม
การพยายามทำให้หญิงแท้งลูก
การทำให้หญิงแท้งที่ถูกกฎหมาย