Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับนิติเวชและนิติจิตเวช, นางสาวปิยวรรณ แสวงวงษ์ เลขที่…
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับนิติเวชและนิติจิตเวช
ความหมายและความสำคัญของนิติเวชและนิติจิตเวช
นิติเวช
คลี่คลายข้อพิพาทและพิสูจน์ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับคดีความโดยใช้หลักทางการแพทย์
นิติจิตเวช
การนำหลักจิตเวชประยุกต์เพื่อประโยชน์ในกระบวนการยุติธรรม
จิตเวช
ความผิดปกติของอารมณ์และบุคลิกภาพ
การวินิจฉัยและขั้นตอนในการตรวจวินิจฉัยทางนิติจิตเวช
การวินิจฉัย
2.ได้ข้อมูลทีมนิติจิตเวช ต้องทำการตรวจทำอย่างละเอียดรอบคอบ
3.การรวบรวมข้อมูล
แบ่งเป็น 2 ส่วน
ส่วนที่เกี่ยวกับความเจ็บป่วยทางจิต
ส่วนเกี่ยวกับคดี
รวบรวมจากทีมนิติจิตเวชและเข้าประชุมสรุปร่วมกัน
1.พิจารณาวัตถุประสงค์ว่าผู้ป่วยมาเพื่อต้องการทราบอะไร
ขั้นตอน
3.การรวบรวมข้อมูล
ส่วนที่เกี่ยวข้องกับคดี สอบถาามจากคนใกล้ชิด พยานบุคคล ตำรวจ และพยานเอกสารทางราชการ
ข้อมูลเกี่ยวกับความเจ็บป่วยทางจิตเวช การรักษาจากญาติ หรือจากเอกสารทางการแพทย์
การตรวจทางจิตเวช
ตรวจทาง
ร่างกาย
ระบบประสาท
ห้องปฏิบัติการ
ทดสอบทางจิตวิทยา
จิต
การเฝ้าดูพฤติกรรม
ตรวจโดยทีมจิตเวช
จิตแพทย์
พยาบาล
จิตเวช
นักจิตวิทยา
นักสังคมสงเคราะห์
นักอาชีวบำบัด
การวิเคราะห์ วินิจฉัย โดยการรวบรวมข้อมูล
1.พิจารณาวัตถุประสงค์
ต้องกระจ่างในความมุ่งหมาย พิจารณาจากใบส่งตัว
ส่งมจากแหล่งใด
ผู้ป่วยต้องคดีอะไร
คดีอยู่ชั้นไหน
ต้องการทราบอะไร เมื่อใด
ใครนำส่ง (ตำรวจ ศาล เรือนจำ คุมประพฤติ)
5.สรุปผลการวินิจฉัย
การวินิจฉัยทางคลินิก (Clinical diagnosis)
เพื่อการรักษาพยากรณ์โรค
การวินิจฉัยทางกฏหมาย (Legal diagnosis)
ต้องพิจารณา
ขณะตรวจวิกลจริต สามารถต่อสู้คดีได้ไหม
ขณะประกอบคดี รู้ปิดชอบหรือบังคับตนเองได้ไหม
ความเห็นหรือข้อเสนอแนะ
6.การเตรียมตัวให้ปากคำต่อศาล
4.กระบวนการเกี่ยวกับนิติจิตเวช
บุคคลที่สงสัยว่าวิกลจริต หรือมีปัญหาสุขภาพจิตขณะประกอบคดี
ถูกจับดำเนินคดี
ปล่อยตัวถ้าพิสูจน์ได้ว่าไม่ได้กระทำความผิด
มีหลักฐานว่ากระทำความผิด
งดสอบสวนหรือพิจารณาคดี
ตรวจวินิจตาม มาตรา 14
รักษาตามขั้นตอน
อาการทางจิตทุเลา
อาการทางจิตไม่ทุเลา
แจ้งผลการรักษาเป็นระยะ
1 more item...
บทบาทของพยาบาลกับงานนิติจิตเวช
บทบาทของพยาบาลกับการชันสูตรพลิกศพ
ประมวลวิธีพิจารณาความอาญาที่แก้ไขใหม่ (พ.ศ.2542)
กรณีที่ผู้ถูกสัตว์ทำร้ายตาย และตายโดยอุบัติเหตุ ถ้าแพทย์ตามมาตรา 150 วรรคหนึ่งไม่สามารถไปชันสูตรพลิกศพได้ แพทย์อาจมอบหมายให้เจ้าหน้าที่โรงพยาบาล ที่ผ่านการฝึกอบรมไปร่วมชันสูตรในที่เกิดเหตุ แล้วรีบรายงานแพทย์ทราบ
การชันสูตรพลิกศพกรณีการตายโดยผิดธรรมชาติ
การฆ่าตัวตาย (Committed suicide)
ถูกผู้อื่นทำให้ตาย (homicide)
ถูกสัตว์ทำร้ายตาย
ตายโดยอุบัติเหตุ (accident)
ตายโดยยังมิปรากฏเหตุ (sudden & unexpected death ) ต้องทำการชันสูตรพลิกศพในกรณีที่สงสัยการตายโดยผิดธรรมชาติ หรือตายระหว่างควบคุมของเจ้าหน้าที่ (มาตรา 148)
หลักการเขียนรายงานชันสูตรพลิกศพ
รายงานการผ่าศพชันสูตร ซึ่งเป็นตรวจสอบสภาพภายนอก / ภายในของศพนั้นๆ
การตรวจชิ้นเนื้อ เพื่อดูพยาธิสภาพ
เขียนรายงาน ณ ที่เกิดเหตุ โดยมีการจดบันทึกเกี่ยวกับข้อเท็จจริงทั่วไป เกี่ยวกับศพ ความเห็นเกี่ยวกับศพ การดำเนินการเกี่ยวกับศพ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพื่อดูสารในร่างกาย
การลงความเห็นในเรื่องเหตุ และพฤติการณ์ที่ตาย
หลักการเขียนรายงานการชันสูตรบาดแผล
ข้อเท็จจริง (จำนวน ชนิด ตำแหน่ง ขนาด สิ่งแปลกปลอมที่พบในบาดแผล ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ วิธีการรักษาพยาบาล และความผิดปกติที่เป็นผลจากการบาดเจ็บ )
ความเห็นเกี่ยวกับแผล
หลักการเก็บรักษาวัตถุพยาน
รวบรวมวัตถุพยานหรือสิ่งที่สงสัยว่าเป็นวัตถุพยาน
แยกหีบห่อ การบรรจุซอง เขียนรายละเอียด
ป้องกันการแปลงปลอมเจือปน หรือเสื่อมสภาพ
ส่งมอบวัตถุพยานด้วยความระมัดระวัง รัดกุม มีบันทึกการส่งมอบและผู้รับผิดชอบ
การบันทึกอาการและอาการแสดง
การบันทึกต้องระมัดระวังการใช้ภาษา อย่าใช้อารมณ์ในการเขียน
ควรเขียนให้สื่อความหมายในแง่การรักษาและกรณีที่เป็นพยานเอกสาร
ต้องมีการสังเกตและบันทึกอาการ อาการแสดงเป็นระยะ ๆ
พึงระลึกไว้เสมอว่าบันทึกอาการ และอาการแสดงของผู้ป่วยเป็นเอกสารลับ ผู้ป่วยสามารถขอดูได้ ไม่ควรเปิดเผยเอกสารนี้กับผู้อื่นยกเว้นแพทย์ หรือกรณีที่ต้องมีการเปิดเผยตามข้อกำหนดของศาล
บันทึกอย่างถูกต้อง ตรงตามความจริง กระชับ ชัดเจน ใช้การขีดฆ่าและเขียนชื่อกำกับแทนการลบ
บทบาทของพยาบาลกับงานนิติจิตเวช
เก็บข้อมูลของผู้ป่วยเป็นความลับ เว้นแต่เป็นเรื่องทางกฏหมาย
กรณีที่บริษัทประกันร้องขอข้อมูลของผู้ป่วย พยาบาลต้องแจ้งให้แพทย์เจ้าของไข้ทราบ แพทย์อาจจะให้พยาบาลช่วยรวบรวมข้อมูล จากนั้นผนึกซอง ตีตราลับและส่งถึง ฝ่ายแพทย์บริษัทประกันให้เร็วที่สุด
ใช้การสังเกต และการบันทึกอาการของผู้ป่วยอย่างละเอียด และเป็นระยะๆ
ในกรณีผู้ป่วยจิตเวช พยาบาลควรแจ้งให้แพทย์ทราบเกี่ยวกับอาการผู้ป่วยที่อาจก่อให้เกิดอันตรายในอนาคต
กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับนิติเวชและนิติจิตเวช
3.4 วิธีเพิ่มโทษ ลดโทษ
และการรอการลงโทษ
มาตรา 56
ผู้ใดกระทำความผิดซึ่งมีโทษจำคุกไม่เกิน 2 ปี ถ้าไม่ปรากฏว่าผู้นั้นได้รับโทษจำคุกมาก่อน หรือจำคุกมาก่อน แต่กระทำโดยประมาท ศาลจะพิพากษาว่าผู้นั้นมีความผิด แต่รอกำหนดโทษแล้วปล่อยตัว ผู้นั้นต้องกลับตัวภายในระยะเวลาที่ศาลกำหนด แต่ห้ามเกิน 5 ปี นับแต่ศาลพิพากษา
เงื่อนไขเพื่อคุมความประพฤติของผู้กระทำผิด
ให้ไปรายงานตัวต่อเจ้าพนักงานที่ศาลระบุไว้ครั้งคราว
แนะนำ ช่วยเหลือ หรือตักเตือนที่เห็นสมควรเรื่องความประพฤติและการประกอบอาชีพ
ให้ฝึกหัดหรือทำอาชีพอันเป็นกิจลักษณะ
ให้ละเว้นการคบหา หรือการประพฤติใดที่นำไปสู่การกระทำผิด
มาตรา 57
เมื่อความปรากกฏแก่ศาล ว่าผู้กระทำผิดไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขดังที่ศาลกำหนดไว้ แล้วแต่กรณี แต่ถ้าในเวลที่ศาลได้กำหนดตามมาตรา 56 ศาลอาญาตักเตือนผู้กระทำความผิด หรือกำหนดการลงโทษที่ยังไม่ได้กำหนด
มาตรา 58
ถ้าภายในเวลาที่ศาลกำหนดตามมาตรา 56 ผู้ที่ถูกพิพากษาให้กระทำความผิด ไม่ใช่ความผิดที่ได้กระทำโดยประมาท และศาลพิพากษาให้ให้ลงโทษจำคุกสำหรับความผิดนั้นให้ศาลที่พอพากาาคดีหลังกำหนดโทษที่รอการกำหนด แต่ถ้าในเวลาที่ศาลกำหนดตามมาตรา 56 ผู้นั้นไม่ได้กระทำความผิดดังกล่าวในวรรคแรก ให้ผู้นั้นพ้นจากการที่ถูกกำหนดโทษ
3.5 ความรับผิดชอบในทางอาญา
มาตรา 66
ความมึนเมาเพราะเสพย์สุรา หรือสิ่งเมาอย่างอื่น จะไม่สามารถยกเป็นข้อแก้ตัวตามมาตรา 65 ได้ เว้นแต่ว่าไม่รู้ว่าสิ่งที่เสพเป็นสิ่งมึนเมา หรือถูกขืนใจให้เสพย์ และได้กระทำความผิดตอนที่ไม่สามารถรับผิดชอบหรือบังคับตัวเองได้ จะได้รับการยกเว้นโทษ แต่ถ้าทำผิดในตอนที่สามารถบังคับตัวเอง และรับผิดชอบได้บ้าง จะได้รับการลงโทษน้อยกว่า
3.3 วิธีการเพื่อความปลอดภัย
มาตรา 48
ถ้าศาลเห็นว่าการปล่อยตัวผู้มีจิตบอกพร่องโรคจิต ซึ่งไม่ได้รับโทษ หรือได้รับการลดโทษจะเป็นอันตรายแก่ประชาชน ศาลสามารถสั่งให้ส่งตัวไปควบคุมไว้ในสถานพยาบาล และคำสั่งนี้เพิกถอนเมื่อใดก็ได้
มาตรา 49
กรณีที่ศาลพิพากษาลงโทษ แต่รอกำหนดโทษ ถ้าศาลเห็นว่าผู้ติดยาเสพติดให้โทษ ศาลจะกำหนดในคำพิพากษา ว่าบุคคนั้นต้องไม่เสพสุรายาเสพติดให้โทษอย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้ง 2 อย่างในระยะเวลาไม่เกิน 2 ปีหลังจากวันพ้นโทษหรือวันปล่อยตัว
3.6 ประมวลกฏหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา 246
ศาลมีอำนาจสั่งให้ทุเลาการบังคับให้จำคุกไว้ก่อน จนกว่าเหตุอันสมควรทุเลาจะหมด
เมื่อเกรงว่าจำเลยจะถึงอันตรายแก่ชีวิตถ้าต้องจำคุก
ถ้าจำเลยมีครรภ์แต่เจ็ดเดือนขึ้นไป
เมื่อจำเลยวิกลจริต
ถ้าจำเลยคลอดบุตรแล้วยังไม่ถึงเดือนในระหว่างทุเลาการบังคับอยู่นั้นจัดให้บุคคลดังกล่าวอยู่ในสถานที่อันควร
มาตรา 248
ถ้าบุคคลซึ่งต้องคำพิพากษาให้ประหารชีวิต เกิดวิกลจริตก่อนประหารชีวิต ให้รอการประหารชีวิตจนกว่าจะหาย ศาลมีอำนาจยกมาตรา 46 วรรค (2) แห่งกฏหมายอาญา
ถ้าบุคคลวิกลจริตหายภายหลัง 1 ปี นับแต่คำพิพากษา ให้ลดโทษจากประหารชีวิตเหลือจำคุกตลอดชีวิต
3.2 ความสามารถในการต่อสู้คดี หรือวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา 14
ในระหว่างทำการสอบสวน ไต่สวนมูลฟ้อง มีเหตุเชื่อว่าผู้ต้องหาเป็นผู้วิกลจริต ไม่สามารถต่อสู้คดีได้ สั่งให้แพทย์ตรวจ เสร็จแล้วเรียกมาว่าได้ผลการตรวจอย่างไร
กรณีที่พนักงานสอบสวนหรือศาลเห็นว่าผู้ต้องหาหรือจำเลยผู้วิกลจริต ไม่สามารถต่อสู้คดีให้งดการสอบสวนจนกว่าจะหายวิกลจริต หรือสามารถต่อสู้คดีได้ และมีอำนาจในการส่งผู้นั้นไปยังโรงพยาบาล หรือให้แก่ผู้อนุบาล ผู้ว่าราชการจังหวัด
หลักการพิจารณาความสามารถในการต่อสู้คดี
รู้ว่าตนเองต้องคดีอะไร
รู้ถึงความหนักเบาของโทษที่จะได้รับ
สามารถเล่ารายละเอียดของคดีได้
สามารถเข้าใจขั้นตอนการดำเนินคดี
สามารถให้ปากคำต่อกระบวนการยุติธรรมได้
สามารถร่วมมือกับทนายในการปกป้องสิทธิตนเองได้
3.7 ความหมายเกี่ยวกับผู้ดูแล
มาตรา373
ผู้ใดควบคุมดูแลบุคคลวิกลจริต ปล่อยปละละเลยให้บุคคลวิกลจริต เที่ยวตามลำพังระวางโทษปรับไม่เกินห้าร้อยบาท
3.1กฏหมายความผิดทางอาญาของบุคคลวิกลจริต
มาตรา 65
ผู้ใดกระทำผิดในขณะไม่สามารถรู้ผิดชอบหรือบังคับตนเองไม่ได้ เพราะมีจิตบกพร่อง โรคจิต ไม่ต้องรับโทษ
ถ้ากระทำผิดยังสามารถรู้ผิดชอบ หรือสามารถบังคับตนเองได้บ้าง ต้องได้รับโทษ แต่ศลจะลงโทษน้อยกว่า
การพิจารณาความผิด
ไม่สามารถรู้ผิดชอบ
ไม่รู้ว่าการกระทำของตนถูกหรือผิด
ไม่สามารถบังคับตนเองได้
ไม่สามารถห้ามจิตใจ มิให้ร่างกายทำการนั้นได้ อันเกิดจากโรคจิต จิตบกพร่อง
3.8 ประมวลกฏหมายแพ่งและพาณิชย์
ป.พ.พ มาตรา29
บุคคลวิกลจริตผู้ใด ถ้าภริยา สามี บุพการี ผู้สืบสันดาน ผู้อนุบาลหรือผู้พิทักษ์ หรือพนักงานอัยการร้องขอต่อศาลสั่งให้บุคคลผู้นั้นเป็นคนไร้ความสามารถ
ป.พ.พ มาตรา 30
บุคคลผู้ซึ่งศาลได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถนั้น ท่านว่าต้องจัดให้อยู่ในความอนุบาล
ป.พ.พ มาตรา31
การใด ๆอันบุคคลผู้ซึ่งศาลได้สั่งใหเป็นคนไร้ความสามารถได้ทำการนั้นท่านว่าเป็นโมฆียะ
ป.พ.พ มาตรา32
การใด ๆ ที่ผู้วิกลจริตได้ทำลงไป หากบุคคลนั้นศาลยังมิได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ การนั้นจะเป็นโมฆียะ เมื่อพิสูจน์ได้ว่าทำลงไปในเวลาที่บุคคลนั้นวิกลจริตอยู่ และคู่กรณีอีกฝ่ายรู้ด้วยว่าเป็นคนวิกลจริต
ป.พ.พ มาตรา 429
บุคคลใดไร้ความสามารถเพราะเป็นผู้เยาว์หรือวิกลจริตต้องได้รับผิดและบิดามารดาหรือผู้อนุบาลก็ต้องได้รับโทษด้วยเช่นกัน เว้นแต่ว่าพิสูจน์แล้วได้ใช้ความระมัดระวังตามสมควรแล้ว
ป.พ.พ มาตรา 430
ครูบาร์อาจารย์ นายจ้างหรือบุคคลอื่นรับดูแลผู้ไร้ความสามารถจะต้องได้รับผิดร่วมกับผู้ไร้ความสามารถในการกระทำการละเมิด ถ้าพิสูจน์ได้ว่าไม่ได้ระมัดระวังตามสมควร
นางสาวปิยวรรณ แสวงวงษ์ เลขที่ 71 รุ่น 36/1 612001072