Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วินิจฉัยแยกโรคระบบทางเดินหายใจ - Coggle Diagram
วินิจฉัยแยกโรคระบบทางเดินหายใจ
โจทย์
ชายไทย อายุ 19 ปี ส่วนสูง 185 ซม. น้ำหนัก 70 กก. ไม่มีประวัติการได้รับอุบัติเหตุ ไม่มีประวัติการดื่มเหล้า สูบบุหรี่ ไม่มีประวัติการแพ้ยา แพ้อาหาร
.
ข้อมูลครอบครัว
บิดาและมารดาไม่มีโรคประจำตัว
อาการสำคัญ
แน่นหน้าอก เหงื่อออก 2 ชั่วโมงก่อนมารพ.
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน
6 เดือน มีไอแห้งๆ ไอมากเวลากลางคืน รู้สึกเจ็บแน่นหน้าอกแบบตื้อๆไม่ร้าว
2 เดือนที่แล้ว มีอาการไอกลางคืน
2-3 วัน หายใจเหนื่อยหอบ หายใจไม่ออกเวลาออกกำลังกาย แต่พอนั่งพักแล้วดีขึ้น นอนราบได้บางครั้ง
2 ชั่วโมง รู้สึกหายใจไม่ออก แน่นหน้าอก เหงื่อออก
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
ได้รับการรักษาโรคหอบหืดเมื่อ 1 ปีก่อน
ผลการตรวจร่างกาย
T= 37.7 องศาเซลเซียส PR= 112-116 ครัง/นาที R= 28-30 ครั้ง/นาที
O2sat= 95% ตรวจร่างกายพบ หายใจมีอกบุ๋มและปีกจมูกบาน คอแดงเล็กน้อย ปลายมือปลายเท้าเขียวคล้ำ capillary refill 4วินาที ฟังเสียงปอดได้crepitation EKG normal ต่อมน้ำเหลืองและต่อมไทรอยด์ไม่โต
วิเคราะห์เคสกรณีศึกษา
สาเหตุ
ได้รับสารก่อภูมิแพ้ โดยมีตัวกระตุ้นคือสารระคายเคืองและมลภาวะผู้ปวยได้สูดควันไฟ
อาการ
อาการไอกลางคืนแต่ไม่เหนือยหอบ มีไข้ต่ำๆ ไอแห้งๆ ไอมากเวลากลางคืน รู้สึกแน่นหน้าอกเวลากลางคืนรู้สึกหายใจไม่ออก แน่นหน้าอก เหงือออก น้ำหนักลดลง
ตรวจร่างกาย
CBC พบว่า WBC=3,000 MLNeutrophil = 75% eosinophil= 59%ซึงตรงกับโรคหอบหืดมากทีสุด
Crepitationboth lung
Problem list
.
• ไข้ต่ำๆ
• ไอแห้งๆ ไอมากเวลากลางคืน
• แน่นหน้าอกเวลาไอ
• หายใจไม่ออก
• เหงื่อออก
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตาย
อาการ
เจ็บหน้าอกรุนแรงเฉียบพลัน หรือเจ็บหน้าอกขณะพักนานกว่า 20 นาที หรืออาการเจ็บหน้าอกซึ่งเกิดขึ้นใหม่ หรือรุนแรงขึ้นกว่าเดิม
สาเหตุ
เพราะมีการสะสมของสารต่างๆ หลายชนิดบนผนังหลอดเลือด สารที่เกิดการสะสมมากที่สุดก็คือไขมัน และคอเลสเทอรอล
ภาวะหัวใจล้มเหลว
สาเหตุ
ความผิดปกติแต่กำเนิด
ความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจ
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจ
ความผิดปกติของเยื่อหุ้มหัวใจเช่นเยื่อหุ้มหัวใจหนาบีบรัดหัวใจ
ความผิดปกติของหลอดเลือดหัวใจ
.
อาการที่พบบ่อยได้แก่
อาการเหนื่อย (dyspnea) เป็นอาการสำคัญดังนี้
อาการเหนื่อยขณะที่ออกแรง (dyspnea on exertion)
อาการเหนื่อยหายใจไม่สะดวกขณะนอนราบ(orthopnea)
2.อาการบวมในบริเวณที่เป็นรยางค์ส่วนล่างของร่างกาย
3.อ่อนเพลีย แน่นท้องท้องอืด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
.
พบ Bilirubin/SGOT/LDH สูงขึ้น
พบโปรตีนในปัสสาวะ
น้ำตาลลดลง
ABG พบ Respiratory Alkalosis
Prothrombin time ยาวนานขึ้น
BUN สูงขึ้น
ภาพถ่ายรังสีทรวงอก Chest X-ray,CXR
โรคหืดหอบ
สาเหตุ
พันธุกรรม สารก่อภูมิแพ้ ติดเชือหวัด การเปลียนแปลงของอากาศ สารระคายเคืองและมลภาวะ ออกกําลังกายหักโหมเกินไป ในผู้ปวยทีเปนโรคหอบหืดอยู่เดิม ความผิดปกติทางอารมณ์และจิตใจ
อาการ
ไอเรือรัง ไอมากเวลากลางคืน ช่วงเช้ามืด ไอมากเวลาทํากิจกรรม จนเหนือย จนอาเจียน มีเสียงวีดๆ ขณะหอบหรือไอ
ตรวจร่างกาย
ฟังปอดได้ยินเสียงwheeze ตรวจพบอาการอืนๆ เช่น เขียว ซึม พูดไม่เปนประโยค หัวใจเต้นเร็ว หน้าอกโปงหายใจหน้าอกบุ๋ม หน้าอกโปง ถ้าเปนเรือรังมานาน
โรคหลอดลมอักเสบ
สาเหตุ
แบคทีเรียและไวรัส ส่วนใหญ่จะเกิดจากการติดเชือไวรัส ได้แก่ ไวรัสไข้หวัดใหญ่ (Influenza Virus) ปจจัยอืนๆ การสูบบุหรี หรือผู้ต้องอยู่กับคนทีสูบบุหรีบ่อย ๆ รวมไปถึงมลภาวะทางอากาศ
อาการ
ไอ มีเสมหะ แสบคอ หรืออาการเจ็บคอร่วมอยู่ด้วย หายใจลําบาก หอบเหนือย หายใจมีเสียงหวีด หรือมีอาการแน่นหน้าอก ไข้
ตรวจร่างกายและตรวจพิเศษ
ฟังปอดอาจได้ยินเสียงหายใจหยาบหรือมีเสียงอี๊ดหรือเสียงกรอบแกรบบางอาจมีเสียงวี๊ด chest X-ray ,การตรวจนับจํานวนเม็ดเลือด (CBC) ,การตรวจเสมหะ
วัณโรค
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชือไมโครแบคทีเรียมทูเบอร์คูโลซิส (Mycobacterium Tuberculosis) ทีสามารถแพร่กระจายได้ทางอากาศโดยผ่านทางการไอ จาม การพูด และการหายใจ
อาการ
ไอแห้งๆ มากกว่า2 สัปดาห์ขึนไป นาหนักลดลง อ่อนเพลีย
ตรวจร่างกาย
chest X-ray ,ทดสอบทูเบอร์คูลิน ทางผิวหนังจะได้ผลบวก,เก็บเสมหะตรวจเพาะเชือ
Plan for diagnosis
การส่งตรวจ CBC เพื่อดูว่าร่างกายมีการติดเชื้อหรือไม่
การตรวจ Renal Function การตรวจ BUN, Creatinin
การตรวจ Liver Function Test ผู้ป่วย HF อาจมีการทำงานของตับผิดปกติ
การตรวจ Chest X-ray ตรวจหาความผิดปกติที่อาจบ่งชี้ถึงโรคปอดที่เป็นสาเหตุของอาการเหนื่อย
การตรวจเสมหะ
Plan for Treatment
การให้ออกซิเจนอย่างเหมาะสม
ให้ยาขยายหลอดลม/สาธิตวิธีใช้ยาพ่นให้ถูกต้องและให้ทำย้อนกลับให้ดู
ให้ยาอื่นๆร่วมด้วย
ตรวจร่างกาย บันทึกชีพจร การหายใจ วัด BP
ตรวจ arterial blood gas
ตรวจระดับโปรแทสเซียม
ยา corticosteroid
เสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อในร่างกายได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอเนื่องจากการ
หดเกร็งของหลอดลม
จุดมุ่งหมายการพยาบาล
เพื่อให้เนื้อเยื่อในร่างกายได้รับออกซิเจนเพียงพอ
เกณฑ์การประเมินผล
อัตราการหายใจอยู่ในช่วง
18 - 24 ครั้ง/ นาที สม่ำเสมอ ความเร็ว ความลึกและจังหวะใน
การหาย ใจปกติ
ไม่มีภาวะร่างกายขาดออกซิเจน (cyanosis) คือ ริมฝีปาก ปลายมือ ปลายเท้าเขียว ค่าออกซิเจนในร่างกายมากกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ ฟังเสียงปอดได้ยินเสียงวี้ดลดลง
การพยาบาล
1. ดูแลให้ได้รับยาขยายหลอดลม Salbutamal 1 NB ทันที ทุก 8 ชั่วโมงและเวลาหอบ ตามแผนการรักษาของแพทย์และสังเกตอาการข้างเคียงจากการใช้ยา
ดูแลให้ได้รับยา dexamethasone 2 มิลลิกรัม เข้าหลอดเลือดดำทุก 6 ชั่วโมง ตามแผนการรักษาของแพทย์และสังเกตอาการแพ้ยาชนิด
3.ให้ออกซิเจนแคนนูลา 3 ลิตรต่อนาทีเพื่อป้องกันภาวะร่างกายขาดออกซิเจน สังเกตอาการขาดออกซิเจน
จัดให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูงประมาณ 45 องศา
วิตกกังวลเนื่องจากรู้สึกสูญเสียภาพลักษณ์จากการใช้ยาพ่น
.
จุดมุ่งหมายการพยาบาล
-ผู้ป่วยวิตกกังวลน้อยลง
เกณฑ์การประเมินผล
1.ผู้ป่วยมีสีหน้าสดชื่นแจ่มใสขึ้น คลายความวิตกกังวลลง
ผู้ป่วยมีทัศนคติที่ดีในการใช้ยาพ่น
การพยาบาล
สร้างสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ป่วยและญาติ
2 . เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึกออกมา ซักถามปัญหาต่าง ๆ ตอบคำถามด้วยคำ สุภาพ สีหน้าและอารมณ์คงที่ ยอมรับการแสดงออกของผู้ป่วย
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจเกี่ยวกับภาวะของโรคและแผนการรักษา ความจำเป็นในการใช้ยาพ่นและเปิดโอกาสให้ ซักถามให้ความมั่นใจแก่ผู้ป่วยในการเผชิญกับโรคที่เป็น
แนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตนที่ถูกต้องตามแผนการรักษาพยาบาล เพื่อให้ผู้ป่วยร่วมมือ ด้วยความเต็มใจ
5.สนับสนุนให้ญาติได้มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาของผู้ป่วยเพื่อให้ยอมรับกับความเจ็บป่วยของผู้ป่วย