Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เทคโนโลยี และยาที่ใช้บ่อยใน ICU - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เทคโนโลยี และยาที่ใช้บ่อยใน ICU
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
ข้อบ่งชี้การใช้เครื่องช่วยหายใจ
ภาวะพร่องออกซิเจน (oxygenation failure)
ความล้มเหลวของการระบายอากาศ (ventilation failure)
กล้ามเนื้อกะบังลมไม่มีแรง (diaphragm fatigue)
ระบบไหลเวียนโลหิตในร่างกายผิดปกติ
ชนิดของเครื่องช่วยหายใจ
2 ประเภท
Non-invasive positive ventilator; NPPV
เครื่องช่วยหายใจที่ให้การช่วย
หายใจผู้ป่วยที่ไม่มีท่อทางเดินหายใจซึ่งสามารถช่วยในการแลกเปลี่ยนก๊าซให้ดีขึ้น
เหมาะสำหรับผู้ป่วย
ผู้ป่วยหายใจล้มเหลวแบบเรื้อรัง
สำหรับใช้ที่บ้าน
ใช้ในเวลากลางคืนและใช้ในรายที่
ถอดท่อช่วยหายใจ
Continuous positive airway pressure (CPAP)
Bilevel Positive Airway Pressure
(BiPAP)
Invasive positive ventilator; IPPV
เครื่องช่วยหายใจประเภทความดันบวกที่ใส่ท่อช่วยหายใจ
การอัดอากาศเข้าไปในปอดผ่านทาง endotracheal tube หรือ tracheostomy tube
การแบ่งประเภทของเครื่องช่วยหายใจ (Mode of ventilator)
3 แบบ
Control mandatory ventilation (CMV) หรือ Assist/control (A/C) ventilation
เป็นวิธีช่วยหายใจที่การหายใจทุกครั้งถูกกำหนดด้วยเครื่องช่วยหายใจทั้งหมด
Synchronized Intermittent mandatory ventilation (SIMV)
เป็นวิธีช่วยหายใจที่มีทั้งการ
หายใจเองและการหายใจด้วยเครื่องช่วยหายใจ
Spontaneous ventilation
การหายใจที่ผู้ป่วยเป็นผู้เริ่มการหายใจเอง
Continuous positive airway pressure (CPAP)
เป็นวิธีการหายใจที่ให้แรงดันบวก (PEEP)
ต่อเนื่องในระดับเดียวกันทั้งในช่วงหายใจเข้าและออก
Pressure support ventilator (PSV)
เป็นวิธีการหายใจที่เครื่องช่วยผู้ป่วยในขณะที่ผู้ป่วยสามารถหายใจได้เอง
ภาวะแทรกซ้อนจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ
ผลต่อระบบหัวใจและไหลเวียนเลือด
การบาดเจ็บของปอดจากการใช้ปริมาตรการหายใจที่สูงเกินไป
ภาวะถุงลมปอดแตก (Pulmonary barotrauma)
การบาดเจ็บของทางเดินหายใจ (Artificial airway complication)
ภาวะปอดแฟบ (Atelectasis)
การเกิดปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ
ภาวะพิษจากออกซิเจน (Oxygen toxicity)
ระบบทางเดินอาหาร
การเกิดแผลหรือภาวะเลือดออกในทางเดินอาหาร
ผลต่อภาวะโภชนาการ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลด้านจิตใจ
การดูแลด้านร่างกาย
ประเมินสภาพผู้ป่วยและภาวะแทรกซ้อนรายงานแพทย์ทันที
การดูแลท่อหลอดลมและความสุขสบายในช่องปากของผู้ป่วย
การป้องกันไม่ให้เกิดการอุดกั้นของทางเดินหายใจ
การดูแลให้เครื่องช่วยหายใจทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ
การป้องกันภาวะปอดแฟบ
การติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่สำคัญ
ค่าก๊าซใน
หลอดเลือดแดง (ABGs)
การพยาบาลผู้ป่วยหย่าเครื่องช่วยหายใจ
การลดการช่วยหายใจในผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจจนสามารถหายใจเองและหยุดใช้เครื่องช่วย
หายใจในที่สุด
ขั้นตอนการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ขั้นตอนที่ 1 ก่อนหย่าเครื่องช่วยหายใจ
โรคหรือสาเหตุที่ผู้ป่วยต้องใส่เครื่องช่วยหายใจหายหรือทุเลาลง
ค่า PaO2>60 มม.ปรอท FiO2
ไม่เกิน 0.4
ค่า PaO2>60 มม.ปรอท FiO2
ไม่เกิน 0.4
ผู้ป่วยรู้สึกตัวและทำตามคำสั่ง
สัญญาณชีพปกติ
ค่า Spontaneous tidal volume เมื่อถอดเครื่องช่วยหายใจแล้ว
มากกว่า 5 มิลลิลิตรต่อน้ำหนักตัว
1 กิโลกรัม
ความสามารถในการหายใจเองของผู้ป่วย
ใช้ยาระงับประสาทเพียงเล็กน้อย
ไม่ใช้ยากระตุ้นหัวใจหรือหลอดเลือด
สามารถไอได้ดี
วิธีการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ผู้ป่วยหายใจเองทาง T piece หรือหายใจเองสลับกับเครื่องช่วยหายใจเป็นพักๆ
การใช้เครื่องช่วยหายใจ
Synchronized Intermittent mandatory ventilation (SIMV)
Pressure support ventilation (PSV)
Continuous Positive Airway Pressure (CPAP)
ขั้นตอนที่ 2 ขณะหย่าเครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาล
ควรเริ่มหย่าเครื่องช่วยหายใจในตอนเช้าหลังจากผู้ป่วยพักผ่อนเต็มที่ในเวลากลางคืน
อธิบายวิธีการหย่าเครื่องช่วยหายใจคร่าวๆ เพื่อลดความกลัว
ดูดเสมหะเพื่อให้ทางเดินหายใจโล่ง
จัดท่าศีรษะสูงหรือท่านั่ง
ทำการหย่าเครื่องช่วยหายใจเมื่อประเมินสภาพผู้ป่วยว่าพร้อมทั้งทางร่างกายและจิตใจ
วัดสัญญาณชีพและความเข้มข้นของออกซิเจนปลายนิ้ว
เฝ้าระวังอาการเปลี่ยนแปลงทุก 15 นาทีถึง 1 ชั่วโมง
กรณีที่ผู้ป่วยไม่สามารถหย่าเครื่องช่วยหายใจโดย T piece 10 ลิตร/นาที ต่อไปได้
การถอดท่อช่วยหายใจ
แพทย์พิจารณาให้ถอดท่อช่วยหายใจได้ (extubation)
สามารถหายใจผ่าน T piece 10ลิตร/นาที เกิน 2 ชั่วโมง
สามารถไอขับเสมหะออกมาได้แรงพ้นท่อช่วยหายใจ
GCS>10 คะแนน
ประเมิน cuff leak test ผ่าน
ขั้นตอนที่ 3 หลังหย่าเครื่องช่วยหายใจ
จัดท่าผู้ป่วยท่านั่งศีรษะสูง
ให้ O2 mask with collugate 10 ลิตร/นาที 2 ชั่วโมง
O2 cannula 3-6 ลิตร/นาที
วัดสัญญาณชีพทุก 15-30 นาทีและทุก 1 ชั่วโมง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีสายสวนหลอดเลือด (central line monitor)
การวัดการไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤต
intra-arterial monitoring
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใส่สายหลอดเลือดแดง (arterial line)
ตรวจสอบความแม่นยำของการปรับเทียบค่า (Accuracy)
ดูแลระบบของ arterial line ให้มีประสิทธิภาพ ใช้ continuous flush system โดยใช้สารน้ำ 0.9%
NSS 500 cc ผสมกับ Heparin 2,000-2,500 ยูนิต
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
การติดเชื้อ (infection)
การเกิดเนื้อตาย
Air embolization
ภาวะที่มีเลือดออกในเนื้อเยื่อ
การไหลเวียนของเลือดไปเลี้ยงอวัยวะส่วนปลายลดลง
Infection
เมื่อมีการเก็บตัวอย่างเลือดส่งตรวจทาง arterial line ต้อง flush สาย ไม่ให้มีเลือดหรือฟองอากาศ
ค้างในสาย
ตรวจสอบข้อต่อต่าง ๆ ให้แน่นอย่างสม่ำเสมอ
การป้องกันการเลื่อนหลุด
ตรวจดูคลื่นที่แสดงการอุดตัน
จดบันทึกค่า Arterial blood pressure ที่ได้ทุก 15-60 นาท
ในกรณีที่แพทย์ถอดสายยางออกแล้วควรกดตำแหน่งแผลไว้นาน อย่างน้อย 10 นาที
Central venous pressures; CVP
ข้อบ่งชี้
สูญเสียเลือดจากอุบัติเหตุหรือจากการผ่าตัด
ภาวะน้ำเกิน
ประเมินการทำงานของหัวใจและหลอดเลือด
ตำแหน่งเส้นเลือดที่ใช้สำหรับ monitor CVP
Superior vena cava
การพยาบาล
ความแม่นยำของการเปรียบเทียบ
Levelling the transducer
Zero the transducer
ป้องกันการเลื่อนหลุดของสายสวน
ป้องกันการติดเชื้อในกระแสเลือด
ป้องกันการอุดตันของสายสวน
การป้องกันฟองอากาศเข้าหลอดเลือดโดยดูแลให้เป็นระบบปิด
ยาที่ใช้บ่อยในผู้ป่วยวิกฤต (common drugs used in ICU)
ยาที่ใช้ในภาวะ Pulseless Arrest
Epinephrine หรือ Adrenaline 1 mg/ml/ampule (1: 1,000)
Amiodarone (Cordarone®)
ยาที่ใช้ในภาวะ Bradyarrhythmia
Atropine
ยาที่ใช้ในภาวะ Tachyarrhythmia
Adenosine
Digoxin (Lanoxin ®)
ยากระตุ้นความดันโลหิต (Vasopressor)
Dopamine (Inopin®)
Dobutamine
Norepinephrine (Levophed®)
ยาขยายหลอดเลือด (Vasodilators)
Nicardipine
Sodium Nitroprusside
Nitroglycerin (NTG)