Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบทางเดินหายใจ, ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน, ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต,…
ระบบทางเดินหายใจ
ข้อมูลกรณีศึกษา
-
-
-
ข้อมูลส่วนบุคคล
ชายไทย อายุ 19 ปี ส่วนสูง 185 ซม. น้ำหนัก 70 กก. ไม่มีประวัติการได้รับอุบัติเหตุ ไม่มีประวัติการ
ดื่มเหล้า สูบบุหรี่ ไม่มีประวัติการแพ้ยา แพ้อาหาร
-
-
-
-
การวินิจฉัยเพิ่มเติม
เป็นการตรวจพิเศษดูภายในหัวใจ และหลอดเลือด โดยใช้คลื่นเสียงเหมือนการทำ ultrasound โดยจะบอกรายละเอียดของความผิดปกติภายในหัวใจและเส้นเลือดใหญ่บริเวณใกล้หัวใจได้ เป็นวิธีการตรวจที่ทำได้รวดเร็ว และแม่นยำ โดยไม่มีข้อเสียหรืออัตราเสี่ยงใดๆ
เป็นการตรวจพิเศษที่ใช้สายยางเส้นเล็กๆ ใส่ผ่านหลอดเลือดเข้าไปในหัวใจและหลอดเลือด และวัดความดันและความเข้มข้นของ oxygen ในบริเวณเส้นเลือด หรือห้องหัวใจและ X-Ray ออกมาก็จะสามารถบอกการรั่ว, ตีบหรือตันของบริเวณนั้นๆได้ มีประโยชน์ในโรคหัวใจพิการแต่ก าเนิดบางชนิดที่วินิจฉัยได้ไม่ชัดเจนจาก echocardiogram
เป็นการตรวจความผิดปกติของหัวใจและหลอดเลือด โดยใช้หลักการของคลื่นแม่เหล็ก มีประโยชน์เฉพาะในบางรายเท่านั้น ข้อจำกัดในขณะนี้คือ ยังมีราคาแพง, มีเฉพาะในสถาบันใหญ่ๆ บางแห่ง ตลอดจนต้องการผู้เชี่ยวชาญในการทำ และแปลผล
-
การตรวจร่างกาย
- ฟังเสียงหัวใจได้ยินเสียง S3 หรือเสียง Gallop rhythm จะได้ยินชัดเจนบริเวณลิ้นไมตรัล
- คล าพบตับ ม้าม โต ล าไส้บวม มีอาการจุกเสียดบริเวณใต้ชายโครงหรือลิ้นปี่
- มีหลอดเลือดด าที่คอโป่งพอง ( Neck vein engored )
-
เป็นภาวะที่กล้ามเนื้อหัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนต่างๆของร่างกายได้เพียงพอกับความต้องการในการเผาผลาญ
-
- การตรวจเพื่อวินิจฉัยให้ได้โรคนี้ ก็มีความยากในการตรวจวินิจฉัย โดยจะใช้กระบวนการตรวจวินิจฉัยด้วยกราฟไฟฟ้าหัวใจ (ECG-electrocardiogram)
- การตรวจ cardiac MRI (CMR) มีประโยชน์อย่างมากในการวินิจฉัยแยกโรค และ พยากรณ์ของโรคโดย myocardial delayed enhancement พบต าแหน่งและรูปแบบหลากหลายตั้งแต่ patchy, subepicardium, หรือ midwall
-
เจ็บตรงหน้าอก อาจจะเจ็บแน่นๆ เจ็บเหนื่อยๆ หรือเจ็บแปลบๆจี๊ดๆ ไข้ยาวนานจากการติดเชื้อ ไอมีเสมหะชีพจรเต้นเร็ว หัวใจเต้นผิดจังหวะ เหนื่อยง่ายโดยเฉพาะเมื่อออกแรง ใจสั่น หายใจหอบ ปวดเมื่อยกล้าม เนื้อ อาเจียน และท้องเสีย และร่วมกับอ่อนเพลียจนหมดเรี่ยวแรง
-
-
ในผู้ป่วยที่สงสัยวัณโรคนั้นอาจพบความผิดปกติหรือไม่ก็ได้เสียงการหายใจที่ผิดปกติส่วน ใหญ่จะเป็นเสียง crepitation อาจพบว่ามีเสียง bronchial breath sound ได้ในกรณีที่พยาธิสภาพในปอดเป็นconsolidation นอกจากนนี้ในผู้ป่วยบางรายอาจจะมีวัณโรคลกุลามอยู่ในหลอดลม และอาจจะทำให้ได้ยินเสียง rhonchi โดยพบว่าเสียงจะดังมากที่สุดที่บริเวณที่มีการอุดกั้นหลอดลม ซึ่งส่วนมากจะเป็นพื้นที่บริเวณ
ตรงกลางหน้าอกหรือ ใกล้เคียง เราเรียกว่า central rhonchi ในกรณีนี้ผู้ป่วยบางรายอาจมีอาการเหนื่อยง่ายได้ถ้ามีการอุดตันหลอดลมแบบ complete obstruction จนทำให้เกิดภาวะปอดแฟบตามมา
-
2 . เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึกออกมา ซักถามปัญหาต่าง ๆตอบคำถามด้วยคำสุภาพ สีหน้าและอารมณ์คงที่ ยอมรับการแสดงออกของผู้ป่วย
- สร้างสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ป่วยและญาติให้เกิดความไว้วางใจเพื่อประเมิน
ความวิตกกังกลผู้ป่วยต่อปัญหา
- อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจเกี่ยวกับภาวะของโรคและแผนการรักษา ความจำเป็นในการใช้ยาพ่นและเปิดโอกาสให้ ซักถามให้ความมั่นใจแก่ผู้ป่วยในการเผชิญกับโรคที่เป็น
- แนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตนที่ถูกต้องตามแผนการรักษาพยาบาลเพื่อให้ผู้ป่วยร่วมมือ ด้วยความเต็มใจ
- เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้ซักถามข้อข้องใจจากแพทย์และพยาบาล เพื่อความเข้าใจยิ่งขึ้น
- สนับสนุนให้ญาติได้มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาของผู้ป่วยเพื่อให้ยอมรับกับความเจ็บป่วยของผู้ป่วย สนับสนุนให้ผู้ป่วยสามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง และสามารถช่วยเหลือผู้ป่วยในด้านต่างๆได้
เกณฑ์การประเมินผล
-
- ผู้ป่วยมีทัศนคติที่ดีในการใช้ยา
พ่น
S : ผู้ป่วยบอกว่า “รู้สึกอายเมื่อต้องหยิบยาขึ้นมาพ่นเมื่ออยู่ต่อหน้าผู้อื่น”“ไม่อยากพกยาไปใช้เมื่ออยู่กับผู้อื่น”
-
-
-
-
-
- Magnetic Resonance Imaging (MRI)
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-