Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การออกแบบการดูแลผู้ป่วยรายบุคคล - Coggle Diagram
การออกแบบการดูแลผู้ป่วยรายบุคคล
Evaluation
ปัญหาที่ 2
บรรลุเป้าหมายบางส่วน
ผู้ป่วยสามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้ปกติ แต่ยังมีอาการปวดเข่าอยู่
ผู้ป่วยสามารถบอกวิธีการลดอาการปวดเข่าได้ แต่ยังไม่สามารถบอกวิธีการป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อม
ผู้ป่วยมีน้ำหนักลดลงอยู่ที่ 60 กิโลกรัม (24 มิถุนายน 2563) จากเดิม 62 กิโลกรัม (30 พฤษภาคม 2563) แต่ยังไม่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน
ปัญหาที่ 3
บรรลุจุดมุ่งหมายบางส่วน
ผู้ป่วยนอนหลับสนิทวันละ 5-6 ชั่วโมง
หลังตื่นนอนไม่มีอาการมึนงง แต่อ่อนเพลียเล็กน้อย
ปัญหาที่ 1
บรรลุบางส่วนเป้าหมายบางส่วน
ผู้ป่วยมีอาการอ่อนเพลียและมึนงงเล็กน้อย
ผู้ป่วยรับประทานอาหารครบ 3 มื้อ แต่บางมื้อรับประทานอาหารไม่ตรงเวลา
ค่าระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยอยู่ที่ 98 mg/dL (25 มิถุนายน 2563)
ผู้ป่วยสามารถบอกวิธีการรับประทานอาหารได้ถูกต้องเหมาะสมกับโรค
Nursing Diagnosis
ปัญหาที่ 2
เสี่ยงต่อการเป็นโรคข้อเข่าเสื่อม เนื่องจากมีอาการปวดบริเวณหัวเข่าร่วมกับการอยู่ในวัยผู้สูงอายุและมีภาวะน้ำหนักเกิน
ปัญหาที่ 3
อาจเกิดอาการววูบหน้ามืด เวียนศีรษะ เนื่องจากร่างกายอ่อนเพลีย
ปัญหาที่ 1
เสี่ยงต่อการเป็นลม หมดสติ เนื่องจากภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
Planning
ข้อวินิจฉัยที่ 3 อาจเกิดอาการวูบ หน้ามืด เวียนศีรษะ เนื่องจากร่างกายอ่อนเพลีย
Goal
จุดมุ่งหมาย
ได้รับการพักผ่อนเพียงพอ หลับสนิท
เกณฑ์การประเมิน
1.ผู้ป่วยนอนหลับพักผ่อนอย่างน้อยวันละ 7-8 ชั่วโมง
2.หลังตื่นนอน รู้สึกสดชื่น ไม่อ่อนเพลีย ไม่มึนงง
Nursing Implementation
3.แนะนำให้หลีกเลี่ยงการดื่มน้ำปริมาณมากหลังอาหารเย็น เพื่อป้องกันการรบกวนการนอนหลับในเวลากลางคืน
4.แนะนำให้งดเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน เพื่อหลีกเลี่ยงการทำให้ร่างกายเกิดการตื่นตัว
2.แนะนำให้ปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม อากาศถ่ายเทได้สะดวก เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการนอนหลับ
5.แนะนำให้หลีกเลี่ยงการเล่นมือถือและดูโทรทัศน์ เพื่อไม่ให้แสง Blue Light จากมือถือและโทรทัศน์ไปรบกวนการหลั่งฮอร์โมนเมลาโทนินที่ทำให้การพักผ่อนนอนหลับสนิท
1.พักผ่อนอย่างน้อย 7-8 ชั่วโมงอย่างต่อเนื่องตลอดคืนเพื่อทำให้หลังตื่นนอนรู้สึกสดชื่น ไม่มึนงง
ข้อวินิจฉัย ที่ 2 เสี่ยงต่อการเป็นโรคข้อเข่าเสื่อม เนื่องจากมีอาการปวดบริเวณหัวเข่าร่วมกัยการอยู่ในวัยผู้สูงอายุและมีน้ำหนักเกิน
Goal
จุดมุ่งหมาย
ผู้ป่วยมีอาการปวดบริเวณข้อเข่าลดลง
เกณฑ์การประเมินผล
2.มีอาการปวดข้อเข่าลดลงเมื่อเคลื่อนไหวร่างกายเช่นการลุก การนั่ง การเดิน
3.ผู้ป่วยสามารถบอกวิธีลดอาการปวดข้อเข่าและวิธีการป้องกันข้อเข่าเสื่อมได้
1.ผู้ป่วยสามารถควบคุมน้ำหนักให้ลดลงอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน
Nursing Implementation
3.แนะนำให้ผู้ป่วยทำกายภาพข้อเข่าเพื่อบรรเทาอาการปวดเข่า
4.ให้ความรู้แก่ผู้ป่วย/ญาติ ในเรื่องการรับประทานอาหารได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมต่อสุขภาพของตนเอง เพื่อป้องกันการเกิดภาวะโรคแทรกซ้อน
2.ประเมินระดับอาการปวดข้อเข่าโดยให้ผู้ป่วยทำแบบประเมินภาวะข้อเข่าเสื่อม เพื่อเป็นเกณฑ์การวัดระดับอาการข้อเข่าเสื่อม
5.แนะนำให้ผู้ป่วยหลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมัน เพื่อไม่ให้ไขมันไปสะสมในร่างกายเกินความจำเป็น
1.ประเมินค่า BMI ผู้ป่วยเพื่อวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพ
ข้อวินิจฉัยที่ 1 เสี่ยงต่อการเป็นลมหมดสติ เนื่องจากภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
Goal
จุดมุ่งหมาย
ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้
เกณฑ์การประเมิน
2.ผู้ป่วยไม่อ่อนเพลีย ไม่มึนงง
3.ผู้ป่วยรับประทานอาหารตรงเวลา 3 มื้อ
1.ค่าระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยอยู่ในเกณฑ์ 70-125 mg/dL
4.ผู้ป่วยสามารถบอกวิธีรับประทานอาหารได้อย่างถูกต้องเหมาะกับโรค
Nursing Implementation
3.แนะนำผู้ป่วย/ญาติ ให้มีการติดตามดูระดับน้ำตาลในเลือดเป็นระยะๆอย่างสม่ำเสมอ เพื่อป้องกันการเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
4.แนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารตรงตามเวลาเพื่อลดปัญหาระดับน้ำตาลในเลือดลดลง
2.ประเมินระดับภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำโดยการเจาะ CBG เพื่อดูค่าระดับน้ำตาลในเลือดว่าอยู่ในเกณฑ์ 70-125 mg/dL
5.แนะนำให้ผู้ป่วยพกลูกอม เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถรักษาภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำที่รุนแรงได้อย่างทันท่วงที เมื่อยามฉุกเฉิน
1.ประเมินความรุนแรงของภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ แบ่งออกได้ 3 ระดับ ตามอาการและอาการแสดงที่ปรากฎและความสามารถในการช่วยเหลือตนเอง ได้แก่
2) ระดับปานกลาง (Moderate hypoglycemia) คือผู้ป่วยที่มีระดับน้ำตาลในเลือดต่ำและมีอาการโอโตโนมิค เช่น ใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง คลื่นไส้ เหงื่อออก ชา และมีอาการสมองขาดกลูโคสเพียงเล็กน้อยหรือปานกลางเช่น มีอาการอ่อนเพลีย มึนงง ปวดหัว พูดช้า ตาพร่า อาจจะมีอาการชักและหมดสติได้ ผู้ป่วยสามารถช่วยเหลือตนเองได้
3.ระดับรุนแรง (Severe hypoglycemia) ผู้ป่วยจะมีอาการรุนแรง จนไม่สามารถช่วยเหลือตัวเอง ต้องอาศัยผู้อื่นช่วยเหลือ หรือรุนแรงจนหมดสติ
1) ระดับไม่รุนแรง (Mild hypoglycemia) คือผู้ป่วยที่มีระดับน้ำตาลในเลือดต่ำแต่ไม่มีอาการโอโตโนมิค เช่น ใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง และผู้ป่วยสามารถช่วยเหลือตนเองได้
Assessment
ปัญหาที่ 2
Subjective data
ผู้ป่วยบ่นว่า มีอาการปวดเข่าตลอดเวลา รวมทั้งการลุก การนั่งด้วย
Objective data
ผู้ป่วยมีการบีบนวดเข่าตลอดเวลา
ผู้ป่วยมีน้ำหนักเกินมาตรฐาน ค่า BMI =29.13 อ้วนระดับ 2
ปัญหาที่ 3
Subjective data
ผู้ป่วยมีปัญหาการพักผ่อนไม่เพียงพอ เนื่องจากปัสสาวะบ่อยในเวลากลางคืน
Objective data
ผู้ป่วยนอนหลับพักผ่อน 4-5 ชั่วโมง
ผู้ป่วยนอนไม่หลับ นอนหลับไม่สนิท
ปัญหาที่ 1
Subjective data
ผู้ป่วยบอกว่า " มีอาการมึนงง เวลาน้ำตาลลด "
Objective data
ผู้ป่วยมีอาการไม่อยากลุกจากที่นอน
ผู้ป่วยรับประทานข้าวมื้อละ 1/2 ทัพพี
ระดับน้ำตาลในเลือด 62 mg/dL
ผู้ป่วยรับประทานอาหารไม่ตรงเวลา