Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวินิจฉัยแยกโรคระบบทางเดินหายใจ - Coggle Diagram
การวินิจฉัยแยกโรคระบบทางเดินหายใจ
ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลส่วนบุคคล
ชายไทยอายุ19 ปีส่วนสูง 185 ซม. น้า หนกั 70กก.ไม่มีประวตัิการไดร้ับอุบตัิเหตุไม่มีประวตัิการ
ดื่มเหล้า สูบบุหรี่ ไม่มีประวัติการแพ้ยา แพ้อาหาร
ข้อมูลครอบครัว
บิดาและมารดาไม่มีโรคประจ าตัว
ประวัติการเจ็บป่วย
อาการสำคัญ
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน
ประวัติการเจ็บป่ วย
อาการสำคัญ
แน่นหน้าอก เหงื่อออก2 ชั่วโมงก่อนมารพ
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน
2 เดือนที่แล้ว มีอาการไอกลางคืน
2-3 วัน หายใจเหนื่อยหอบ หายใจไม่ออกเวลาออกกา ลงักายแต่พอนั่งพักแล้วดีขึ้น นอนราบได้
บางคร้ัง
2 ชวั่ โมงรู้สึกหายใจไม่ออก แน่นหน้าอก เหงื่อออก
6 เดือน มีไอแห้งๆ ไอมากเวลากลางคืน รู้สึกเจ็บแน่นหน้าอกแบบตื้อๆไม่ร้าว
ซักประวัติตามระบบ
Respiratory Systems : มีอาการหายใจเหนื่อยหอบ เมื่ออยู่ใกล้ควันไฟ หรือเวลาออกกำลังกายเมื่อพักแล้วดีขึ้น ได้รับการรักษาโรคหอบหืดเมื่อ
1 ปีก่อน มีอาการไอตอนกลางคืน จะเป็นมากขึ้นเมื่อโดนละอองฝน
การตรวจร่างกายเพื่อแยกโรค
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
ได้รับการรักษาโรคหอบหืดเมื่อ1 ปีก่อน
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
ผลการตรวจพิเศษ
ผลการตรวจ CXR ปกติ
โรคที่นึกถึงจากกลุ่มอาการของกรณีศึกษา
ระบบทางเดินหายใจ
โรคหืดหอบ (Asthma)
โรคหลอดลมอักเสบ (bronchitis)
ปอดอักเสบ (Pneumonia)
ัณโรค(Tuberculosis)
ระบบไหลเวียนโลหิต
กลา้มเนื้อหัวใจอักเสบ (Myocarditis)
ภาวะหัวใจล้มเหลว(Heart failure)
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตาย(Myocardial infarction)
กลุ่มอาการที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มอาการไอ(Cough)
นิยาม อาการไอเป็นกลไกการตอบสนองของร่างกายอย่างหนึ่งต่อสิ่งผิดปกติในทางเดินหายใจและเป็นกลไกป้องกัน ที่สำคัญของร่างกายในการการกำจัดเชื่อโรค เสมหะหรือสิ่งแปลกปลอมในทางเดินหายใจ
รวมท้ังเป็นอาการที่น าผูป้่วยมาพบแพทย์ได้บ่อยที่สุด นอกจากนี้อาการไอยังเป็นทางที่สำคัญในการแพร่กระจายของการติดเชื่อในระบบทางเดินหายใจ
กลุ่มอาการไข้
นิยาม ไข้เป็นสิ่งบ่งบอกว่ามีสิ่งผิดปกติเกิดขึ้นในร่างกาย อุณหภูมิ ร่างกายต้ังแต่ 37.5 องศา เซลเซียสข้ึนไปจะถือว่าเป็นไข้ซึ่งร่างกายคนปกติจะมีอุณหภูมิประมาณ 37องศาเซลเซียส เมื่อวัดทางปาก ร่างกายของคนเราจำเป็นต้องมีการปรับอุณหภูมิให้อยู่ในช่วงที่เหมาะสม และไม่เปลี่ยนแปลงไปมาก เมื่อ เปรียบเทียบกับการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิของอากาศภายนอก ท้ั้งนี้เพื่อให้การทำงานของร่างกายเป็นไป ได้อย่างปกติ
กลุ่มอาการเจ็บหน้าอก
อาการเจ็บปวดที่เกิดขึ้นบริเวณหน้าอก ซึ่งเกิดขึ้นตั้งแต่บริเวณไหล่ลงมาถึงช่วงล่างของซี่โครง สาเหตุของอาการเจ็บหน้าอกมีหลายอย่าง การวินิจฉัยสาเหตุระบุได้ยากหากไม่ได้รับการตรวจอย่างละเอียด ผู้ที่มีอาการเจ็บหน้าอกควรรีบพบแพทย์ เนื่องจากอาการดังกล่าวอาจเป็นผลมาจากการป่วยด้วยโรคที่ร้ายแรง เช่น โรคหัวใจ เป็นต้น โดยผู้ที่เพิ่งเกิดอาการเจ็บหน้าอก เจ็บหน้าอกอย่างรุนแรง หรือเกิดอาการนี้มาเรื่อย ๆ ควรปรึกษาแพทย์เพื่อรับการวินิจฉัยโรคและรักษาต่อไป
การวินิจฉัย
โรคหลอดลมอักเสบ
(bronchitis)
อาการไข้
ไข้ต ่า ๆ หรือ ไข้สูง
อาการไอ
ไอหอบเหนื่อย ,ไอมีเสมหะ
อาการเจ็บหน้าอก
-
อาการอื่นๆ
อาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ เช่น มี
ไข้ ปวดเมื่อยตามตัว
สาเหตุ
โรคหลอดลมอักเสบเฉียบพลัน: ส่วนใหญ่เกิดในผู้ป่ วยที่มีปัญหา ทางเดินหายใจอยู่เดิมแล้วได้รับ สารก่อการระคายเคือง
ตรวจวินิจฉัยโรค
การส่งตรวจเสมหะ
การส่งตรวจเสมหะ
ตรวจร่างกาย
ฟังปอดเสียง wheezing หรือ
rhonchi
ปอดอักเสบ
(Pneumonia)
อาการไข้
ไข้สูง
อาการไอ
ไอมีเสมหะสีขุ่นข้น
อาการเจ็บหน้าอก
จ็บหน้าอกแปลบๆปวดร้าวไปที่
หัวไหล่สีข้างหรือท้อง
อาการอื่นๆ
หอบเหนื่อย หนาวสั่น เสมหะสี
สนิมเหล็กหรือมีเลือดปน
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย พบ Pneumococcus ที่พบน้อยแต่ ร้ายแรงได้แก่ เชื้อ Staphylococcus
ตรวจวินิจฉัยโรค
CBC พบ Neutrophil สูงSputum
ตรวจร่างกาย
ฟังปอดเสียง crepitation
โรคหืดหอบ
(Asthma)
อาการเจ็บ
หน้าอก
เวลาไอจะแน่นหน้าอก
อาการไข้
-
สาเหตุ
เกิดจากขณะมีอาการหอบ ฉุกเฉินได้ให้การรักษาที่ไม่ เพียงพอผู่ป่วยซ้ือยาใชเ้อง หรือปรับยาเอง พิจารณาเริ่ม ยาสเตียรอยด์ช้าเกินไป และ การไม่หลีกเลี่ยงสารก่อ ภูมิแพ้
อาการไอ
ผู้ป่วยจะมีอาการไอ หอบ เหนื่อยง่าย ไอมากตอน กลางคืน
ตรวจร่างกาย
ฟังปอดเสียง wheezing
อาการอื่นๆ
หายใจลึก หายใจลำบาก
ตรวจพิเศษ
วินิจฉัยโรค
ท าโดยตรวจ spirometry +/- methacholine challenge test เพื่อวินิจฉัยว่าเป็ นโรคหอบ
วัณโรค
(Tuberculosis)
อาการไข้
ไข้ต ่าๆ
อาการไอ
อาการไอแห้งๆ มีเลือดปน ไอ
เร้ือรังเกิน 3 เดือน
อาการเจ็บหน้าอก
เจ็บหน้าอกแปลบๆ
อาการอื่นๆ
ไอเป็นเลือด, หรือรู้สึกเจ็บเวลา หายใจหรือไอ, อ่อนเพลีย, หนาวสั่น, มีอาการเหงื่อออกใน เวลากลางคืน และความอยาก อาหารลดลง
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อไมโคร
แบคทีเรียมทูเบอร์คูโลซิส
ตรวจวินิจฉัยโรค
การถ่ายภาพรังสีทรวงอกโดย อาจจะเป็น เงาเปรอะเป้ือน เป็น จุดหรือฝ้าบนฟิ ล์ม
ตรวจร่างกาย
อาจพบหรือไม่พบก็ได้ หาก
ผิดปกติจะได้ยินเสียง crepitation
Plan treatment
ข้อบ่งชี้ในการรับผู้ป่วยไว้รักษาในโรงพยาบาล
ไม่ตอบสนองต่อการรักษาตามแนวทางการรักษาข้างต้น ภายใน 1-2 ชั่วโมง
มีประวัติเดิมของอาการหอบหืดรุนแรง
มีปัจจัยเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโรคหืด
มีอาการซึม หรือสับสน
มีอาการหอบต่อเนื่องมานาน ก่อนที่จะมาพบแพทยท์ ี่ห้องฉุกเฉิน
สภาพแวดล้อมและการดูแลที่บ้านไม่เหมาะสม
การรักษาต่อเนื่องในโรงพยาบาล
ให้oxygen ในขนาดที่เหมาะสม
แพทย์และหรือพยาบาลควรเฝ้าดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด จนกระทั้งผู้ป่วยเริ่มมีอาการดีขึ้นอย่างชัดเจน
ผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด จนกระทั้งผู้ป่วยเริ่มมีอาการดีขึ้นอย่างงชัดเจน
ถ้าผู้ป่วยอาการดีขึ้นให้สุด β2-agonist ทุก4-6 ชั่วโมง
ถ้าอาการ หรืออาการแสดงยังไม่ดีขึ้น ให้เพิ่ม anticholinergic ร่วมกับ β2-agonist ทาง nebulizer หรือฉีด aminophylline หรือ ฉีด magnesium sulfate ในขนาด 2 กรัมในเวลา 20 นาที
เตรียม assisted ventilation ถ้าอาการทั่วไปเลวลง
การรักษาผู้ป่วยโรคหืดการเริบเฉียบพลนัในห้องฉุกเฉิน
การให้oxygen ในขนาดที่เหมาะสม
การให้ยาขยายหลอดลม
ยา corticosteroid
ยาอื่น ๆ ที่ใช้ในการรักษาร่วมด้วย
การเฝ้าระวังและติดตามอาการ (monitoring)
ตรวจร่างกาย บันทึกชีพจร การหายใจ และวัดความดันโลหิต เป็นระยะๆ
วัด PEF และ O2 saturation เป็ นระยะๆ ทุก 1-2 ชั่วโมง
ตรวจ arterial blood gas เมื่อผู้ป่วยมีอาการหอบหืดรุนแรง และ/หรือมีอาการแสดงของการคั่งของ คาร์บอนไดออกไซด์ หรือภาวะพร่อง ออกซิเจน
ตรวจวัดระดับโปตัสเซียม ในกรณีที่ใช้ยา β2-agonist ฉีดติดต่อกัน หลายคร้ังในขนาดสูง