Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1แนวคิด ทฤษฎี หลักการพยาบาลครอบครัว - Coggle Diagram
บทที่ 1แนวคิด ทฤษฎี
หลักการพยาบาลครอบครัว
ครอบครัว
กลุ่มบุคคลที่มีความผูกพันและใช้ชีวิตร่วมกัน ทำหน้าที่เป็นสถาบันหลักบุคคล๒คนหรือมากกว่า๒คนขึ้นไป หน่วยสังคมที่เล็กที่สุด มีความสำคัญยิ่งสถาบันหนึ่ง มีความผูกพันและมีความรักซึ่งกันและกันมีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือทางกฎหมาย มีลักษณะเฉพาะที่แตกต่างจากกลุ่มอื่น ๆ
บทบาทหน้าที่
เป็นแหล่งกล่อมเกลาทางสังคม (Socialization)
เป็นแหล่งถ่ายทอดวิชาชีพและฝึกฝนอาชีพ
เป็นแหล่งสังคมสงเคราะห์เบื้องต้น
ทางกฎหมาย
ความสัมพันธ์กันทางสายโลหิต การนำมาเลี้ยงเป็นบุตรบุญธรรม การเป็นผู้ปกครองหรือการแต่งงาน
ทางชีววิทยา
บุคคลที่มีความเกี่ยวข้องกันในการสืบพันธุ์หรือดำรงเผ่าพันธุ์มนุษย์
ทางสังคมศาสตร์
กลุ่มของบุคคลที่มาอยู่รวมกัน
ทางจิตวิทยา
กลุ่มบุคคลที่มีความผูกพันกันอย่างมากทางด้านอารมณ์
บุคคล
กลุ่มคน
ประเภทของครอบครัว
จำแนกตามโครงสร้างของครอบครัว
ครอบครัวเดี่ยว (Nuclear family)
ประกอบด้วยสามี ภรรยาและบุตร
ในกรณีที่สามีหรือภรรยามากกว่า ๑ คน (Polygamy) ก็ให้รวม
ครอบครัวขยาย (Extended family)
ครอบครัวรวมญาติทั้งด้านสามีหรือภรรยา
บทบาทหน้าที่ของครอบครัว
หน้าที่ด้านความรักความเอาใจใส่
(Affective function)
หน้าที่ในการอบรมเลี้ยงดู
(Socialization function)
หน้าที่ในการผลิตสมาชิกใหม่
(Reproductice function)
หน้าที่ในการเผชิญปัญหาของครอบครัว
(Family coping function) ภายใน/ภายนอก
หน้าที่ในการจัดการทรัพยากรทางเศรษฐกิจ (Economic function)
หน้าที่ในการจัดหาสิ่งจำเป็นพื้นฐานทางกายภาพสาหรับสมาชิก (Provision of physical necessities)
การเขียนผังครอบครัว (Genogram)
เครื่องมือที่แพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ใช้เพื่อสรุปข้อมูลครอบครัวของผู้รับบริการ
ข้อมูลด้านพันธุกรรมและข้อมูลความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัว
แผนภูมิครอบครัว ผังเครือญาติ เป็นต้น สาหรับภาษาอังกฤษ ได้แก่ Genogram, family tree, family pedigree และ genealogic chart
บอกความเสี่ยงทางพันธุกรรม
บอกแนวโน้มการเจ็บป่วย
สามารถทำนายปัญหาในอนาคตของครอบครัวได้
มี ข้อมูลตั้งแต่ ๓ ชั่วอายุคนของครอบครัวขึ้นไป
องค์ประกอบ
ข้อมูลทั่วไปของครอบครัว
เชื้อชาติ การศึกษาและอาชีพ
เหตุการณ์ของครอบครัว
การแต่งงาน การแยกกันอยู่ การหย่าร้าง การเกิดการตาย ปัญหาด้านสังคมและสุขภาพ
โครงสร้าง
องค์ประกอบของครอบครัว
สถานภาพสมรส
บทบาทการเป็นพ่อแม่
ปัญหาทางสังคมและสุขภาพ
ควรระบุทั้งชนิด และจานวนของปัญหาที่พบ และพิจารณาว่ามีการเกิดซ้าซาก
การเขียนผังครอบครัว (Genogram)หน้า35
พัฒนาการ ครอบครัว
(Family development)
วงจรชีวิตครอบครัว ที่มีการหมุนเวียนเปลี่ยนรูปแบบ
พัฒนกิจของครอบครัว
ความรับผิดชอบต่อการเจริญเติบโตตามพัฒนาการของครอบครัว
เพื่อตอบสนองความต้องการพื้นฐานทางกายภาพหรือชีวภาพ
เพื่อให้สอดคล้องกับความคาดหวังของสังคม
เพื่อตอบสนองต่อความปรารถนา ความเชื่อ และค่านิยม
ใช้แนวคิดของ Duvall
ระยะครอบครัวเริ่มต้น (Beginning families)
ร
ะยะหลังแต่งงานหรืออยู่ร่วมกันฉันท์สามีภรรยา
จะสิ้นสุดระยะนี้ลง เมื่อภรรยาตั้งครรภ์และให้กำเนิดบุตรคนแรก
ต้องมีการปรับตัวมาก
สร้างความพึงพอใจในสัมพันธภาพของคู่สมรส
การวางแผนครอบครัว
ความสัมพันธ์กับญาติของคู่สมรสแต่ละฝ่าย
ระยะเริ่มเลี้ยงดูบุตร
(Early childbearing families)
บุตรคนแรกเกิด จนเมื่อบุตรคนแรกอายุได้ ๓๐ เดือน
ปรับตัวเข้าสู่บทบาทใหม่
การสร้างสัมพันธภาพที่ดี
การจัดแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ
การวางแผนครอบครัว
ระยะมีบุตรวัยก่อนเรียน
(Families with pre -school children)
ที่บุตรคนแรกอายุตั้งแต่ ๒ ปีครึ่ง จนถึง ๖ ปี ครอบครัวระยะมีบุตรก่อนวัยเรีย
น
จัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย
ป้องกันการติดเชื้อในเด็ก
เปิดโอกาสให้บุตรวัยก่อนเรียนได้เรียนรู้
ีการเตรียมพร้อมก่อนเข้าโรงเรียน
บิดามารดามีหน้าที่ในการเลี้ยงดู
ถ้ามีบุตรคนที่สองในระยะนี้ ครอบครัวต้องมีการปรับแผนอีกทั้งต้องเตรียมบุตรผู้พี่ มิให้เกิด ปฏิกิริยาอิจฉาน้องจนเกินไป
จัดสรรการเงิน
คงไว้ซึ่งสัมพันธภาพอันดีระหว่างคู่สมรส
ระยะมีบุตรวัยเรียน
(Families with school -age children)
ระยะนี้บุตรคนแรกอายุ ๖ ปีถึง ๑๓ ปี
ส่งเสริมบุตรในด้านการเรียน ทั้งการศึกษาภายในระบบในโรงเรียนและนอกโรงเรียน
ให้คำปรึกษาและแก้ปัญหาเ
สนใจที่จะสร้างฐานะเศรษฐกิจ และมุ่งความก้าวหน้าด้านอาชีพการงาน
มีความเข้าใจ และพร้อมที่จะค่อย ๆ ปล่อยให้บุตรเป็นอิสระ
คงไว้ซึ่งสัมพันธภาพและการสื่อสารที่ดี
จัดสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัย ป้องกันอุบัติเหตุและมีอุปกรณ์ในการปฐมพยาบาล
ระยะครอบครัวมีบุตรวัยรุ่น (Families with teenagers)
บุตรคนแรกอายุระหว่าง ๑๓ ปี ถึง ๒๐ ปี
ผ่อนคลายความสัมพันธ์กับบุตรวัยรุ่น ให้โอกาสวัยรุ่นในการรับผิดชอบตนเอง และรับผิดชอบงานบางส่วน
มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับเพศสัมพันธ์ เพื่อสามารถป้องกันปัญหาทางเพศ
การสื่อสารและสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว
อบรมบทบาทที่เหมาะสมในสังคม
ระยะแยกครอบครัวใหม่
(Launching center families)
บุตรแยกจากครอบครัวไปมีครอบครัวใหม่ ซึ่งจะสิ้นสุดลงเมื่อบุตรคนสุดท้ายแยกออกจากครอบครัวไป
การปรับตัวของบิดามารดา
คงไว้ซึ่งกิจกรรมกับชุมชนและเพื่อนบ้าน
ปรับตัวเพื่อกลับเป็นครอบครัวที่จะเหลือเพียงคู่สามีภรรยาอีกครั้ง
คงไว้ซึ่งสัมพันธภาพและการสื่อสารอันดี
ปรับบทบาทการเป็นปู่ย่า ตายาย
ระยะครอบครัววัยกลางคน (Families of middle year)
บุตรคนสุดท้ายออกไปมีครอบครัวใหม่
แต่จะสิ้นสุดลงเมื่อถึงวาระเกษียณหรือหยุดงาน
ส่งเสริมดูแลสุขภาพ
มีการปรับเปลี่ยนกิจกรรม ้เป็นการมีกิจกรรมทางสังคมและสันทนาการมากขึ้น
คงไว้ซึ่งสัมพันธภาพที่ดี
ระยะครอบครัววัยชรา (Families in retirement and old age)
ระยะต่อจากวัยกลางคน จะเริ่มเมื่ออายุของคู่สมรส ๖๕ปีขึ้นไป
การคงไว้ซึ่งแนวการดำเนินชีวิต
มีการปรับตัวเข้ากับชีวิตหลังหยุดงานประจา
ปรับระบบการใช้จ่ายเงิน
เรียนรู้ และปรับตัวให้สามารถดำรงชีวิตตามข้อจำกัด
สามารถเผชิญกับการสูญเสียได้อย่างเหมาะสม
คงไว้ซึ่งสัมพันธภาพที่ดี
ต้องการได้รับการยอมรับ การให้เกียรติจากบุคคลแวดล้อม
ควรได้มีส่วนร่วมกับกิจกรรมของสังคม
ครอบครัวอบอุ่นและครอบครัวสุขภาพดี
มีการจัดการภายในองค์กรครอบครัว
สมดุลระหว่างการพึ่งพาและอิสระต่อกัน
มีขอบเขตในเส้นแบ่งระหว่างรุ่น
สมาชิกรู้สึกมั่นคง ภูมิใจในครอบครัว
ส่งเสริมให้สมาชิกพึ่งตนเอง นับถือตนเองได้เติบโต
มองสรรพสิ่งในแง่ดี
ยืดหยุ่นในบทบาท
ประนีประนอมข้อขัดแย้งกันได้
สื่อสารกันอย่างมีประสิทธิภาพ
อุทิศ สนับสนุนและประคับประคอง
เคารพ นับถือในคุณค่าของกันและกัน
มีโอกาสใช้เวลาร่วมกัน
มีศาสนาร่วมกัน ถ้าต่างก็ไม่แย้งกัน
มีสัมพันธภาพที่ดีกับระบบอื่นนอกครอบครัว