Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับนิติเวชและนิติจิตเวช, นางสาวณัฏฐ์ดารินทร์ นิลศรีสนิท…
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับนิติเวชและนิติจิตเวช
ความหมายและความสำคัญของนิติเวชและนิติจิตเวช
จิตเวช
ความเจ็บป่วยทางจิต ความผิดปกติของอารมณ์และบุคลิกภาพ
นิติเวช
การนำหลักทางการแพทย์ประยุกต์ใช้ เพื่อคลี่คลายข้อพิพาทและพิสูจน์ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับคดีความ
นิติจิตเวช
การนำหลักจิตเวชประยุกต์เพื่อประโยชน์ในกระบวนการยุติธรรมและความสงบของสังคม
การวินิจฉัย และขั้นตอนในการตรวจวินิจฉัยทางนิติจิตเวช
การวินิจฉัยทางนิติจิตเวช
พิจารณาวัตถุประสงค์ว่าส่วนตัวผู้ป่วยมาเพื่อต้องการทราบอะไร
การตรวจทางจิตเวชต้องทำอย่างละเอียดรอบคอบ โดยได้ข้อมูลจากทีมนิติจิตเวช
การรวบรวมข้อมูลแบ่งเป็น 2 ส่วน
ส่วนที่เกี่ยวกับคดี
ส่วนที่เกี่ยวข้องกับความเจ็บป่วยทางจิต
ขั้นตอนในการตรวจวินิจฉัยทางนิติจิตเวช
พิจารณาวัตถุประสงค์
การตรวจทางจิตเวช
การรวบรวมข้อมูล
วิเคราะห์ วินิจฉัย โดยการรวบรวมข้อมูลทั้งหมด
สรุปผลการวินิจฉัย
การวินิจฉัยทางคลินิก (clinical diagnosis) เพื่อการรักษาการพยากรณ์โรค
การวินิจฉัยทางกฎหมาย (legal diagnosis) ส่งที่ต้องพิจารณา
ขณะตรวจ วิกลจริต และสามารถต่อสู้คดีได้หรือไม่
ขณะประกอบคดี สามารถรู้ผิดชอบ หรือบังคับตนเองได้หรือไม่
ความเห็นหรือข้อเสนอแนะ เช่น ภาวะอันตราย
การเตรียมตัวให้ปากคำต่อศาล
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับนิติเวช และนิติจิตเวช
กฎหมายเกี่ยวกับความผิดทางอาญาของบุคคลวิกลจริต
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 65
การพิจารณาความผิดทางอาญา
ไม่สามารถรู้ผิดชอบ
ไม่สามารถบังคับตนเองได้
ความสามารถในการต่อสู้คดี หรือวิธีพิจารณาความอาญา
ประมวลกฎหมายมาตรา 14
หลักการพิจารณาความสามารถในการต่อสู้คดี
รู้ว่าตนเองต้องคดีอะไร
รู้ถึงความหนักเบาของโทษที่จะได้รับ
สามารถเล่ารายละเอียดของคดีได้
สามารถเข้าใจขั้นตอนการดำเนินคดี
สามารถให้ปากคำต่อกระบวนการยุติธรรมได้
สามารถร่วมมือกับทนายในการปกป้องสิทธิตนเองได้
วิธีการเพื่อความปลอดภัย
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 48
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 49
วิธีเพิ่มโทษ ลดโทษ และการรอการลงโทษ
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 56
เงื่อนไขเพื่อคุมความประพฤติ
ให้ไปรายงานตัวต่อเจ้าพนักงานที่ศาลระบุไว้เป็นครั้งคราว
แนะนา ช่วยเหลือ หรือตักเตือนตามที่เห็นสมควรในเรื่องความประพฤติและการประกอบอาชีพ
ให้ฝึกหัดหรือทางานอาชีพอันเป็นกิจลักษณะ
ให้ละเว้นการคบหาสมาคม
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 57
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 58
ความรับผิดชอบในทางอาญา
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 66
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 246
ศาลมีอำนาจสั่งให้ทุเลาการบังคับให้จำคุกไว้ก่อน จนกว่าเหตุอันสมควรทุเลาจะหมดไปในกรณีต่อไปนี้
เมื่อจำเลยวิกลจริต
เมื่อเกรงว่าจำเลยจะถึงอันตรายแก่ชีวิตถ้าต้องจำคุก
ถ้าจำเลยมีครรภ์แต่เจ็ดเดือนขึ้นไป
ถ้าจำเลยคลอดบุตรแล้วยังไม่ถึงเดือนในระหว่างทุเลาการบังคับอยู่นั้น ให้ศาลสั่งพนักงาน ฝ่ายปกครองหรือตำรวจจัดให้บุคคลดังกล่าวแล้วอยู่ในสถานที่อันควร”
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 248
ความหมายเกี่ยวกับผู้ดูแล
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 373
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ป.พ.พ. มาตรา 29
ป.พ.พ. มาตรา 30
ป.พ.พ. มาตรา 31
ป.พ.พ. มาตรา 32
ป.พ.พ. มาตรา 32
ป.พ.พ. มาตรา 430
กระบวนการเกี่ยวกับนิติจิตเวช
บุคคลที่สงสัยว่าวิกลจริต หรือมีปัญหาสุขภาพจิตขณะประกอบคดี
ถูกจับดำเนินคดี
ปล่อยตัวถ้าพิสูจน์ได้ว่าไม่ได้กระทำความคิด
มีหลักฐานว่ากระดำความผิด
งดสอบสวนหรือพิจารณาคดี
ตรวจวินิจตาม มาตรา 14
รักษาตามขั้นตอน
อาการทางจิตทุเลา
อาการทางจิตไม่ทุเลา
แจ้งผลการรักษาเป็นระยะ
1 more item...
บทบาทของพยาบาลกับงานนิติจิตเวช
ใช้การสังเกต และการบันทึกอาการของผู้ป่วยอย่างละเอียด และเป็นระยะๆ
เก็บข้อมูลของผู้ป่วยเป็นความลับ เว้นแต่เป็นเรื่องทางกฎหมาย
ในกรณีที่บริษัทประกันร้องขอข้อมูลของผู้ป่วย พยาบาลต้องแจ้งให้แพทย์เจ้าของไข้ทราบ
ในกรณีผู้ป่วยจิตเวช พยาบาลควรแจ้งให้แพทย์ทราบเกี่ยวกับอาการของผู้ป่วยที่อาจก่อนให้เกิดอันตรายในอนาคต
บทบาทของพยาบาลกับการชันสูตรพลิกศพ
การตายโดยผิดธรรมชาติประกอบด้วย
การฆ่าตัวตาย
ถูกผู้อื่นทำให้ตาย
ถูกสัตว์ทำร้ายตาย
ตายโดยอุบัติเหตุ
ตายโดยยังมิปรากฏเหตุ
หลักการเขียนรายงานการชันสูตรพลิกศพ
เขียนรายงาน ณ ที่เกิดเหตุ โดยมีการจดบันทึกเกี่ยวกับข้อเท็จจริงทั่วไป
รายงานการผ่าศพชันสูตร ซึ่งเป็นตรวจสอบสภาพภายนอก / ภายในของศพนั้นๆ
การตรวจชิ้นเนื้อ เพื่อดูพยาธิสภาพ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพื่อดูสารในร่างกาย
การลงความเห็นในเรื่องเหตุ และพฤติการณ์ที่ตาย
หลักการเขียนรายงานการชันสูตรบาดแผล
สิ่งที่พยาบาลต้องบันทึก
ข้อเท็จจริง (จำนวน ชนิด ตำแหน่ง ขนาด สิ่งแปลกปลอมที่พบในแผล ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ วิธีการรักษาพยาบาล และความผิดปกติที่เป็นผลจากการบาดเจ็บ)
ความเห็นเกี่ยวกับแผล
หลักการเก็บรักษาวัตถุพยาน
รวบรวมวัตถุพยานหรือสิ่งที่สงสัยว่าเป็นวัตถุพยาน
แยกหีบห่อ การบรรจุซอง เขียนรายละเอียด
ป้องกันการปลอมแปลงเจือปน หรือเสื่อมสภาพ
ส่งมอบวัตถุพยานด้วยความระมัดระวัง รัดกุม มีบันทึกการส่งมอบและผู้รับผิดชอบ
การบันทึกอาการและอาการแสดง
บันทึกอย่างถูกต้อง ตรงตามความเป็นจริง กระชับ ชัดเจน
ต้องมีการสังเกตและบันทึกอาการ อาการแสดงเป็นระยะๆ
ในการบันทึกต้องระมัดระวังการใช้ภาษา อย่าใช้อารมณ์ในการเขียน
ควรเขียนให้สื่อความหมายในแง่การรักษาและกรณีที่เป็นพยานเอกสาร
พึงระลึกไว้เสมอว่าบันทึกอาการ และอาการแสดงของผู้ป่วยเป็นเอกสารลับ จึงไม่ควรเปิดเผยเอกสารนี้กับผู้อื่น
นางสาวณัฏฐ์ดารินทร์ นิลศรีสนิท เลขที่44