Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวกฤตที่ใช้เทคโนโลย และยาที่ใช้บ่อยใน ICU, นางสาวรักษ์ชนนี …
การพยาบาลผู้ป่วยวกฤตที่ใช้เทคโนโลย และยาที่ใช้บ่อยใน ICU
การพยาบาลผู้ป่วยใส่สายสวนหลอดเลือด (central line monitor)
การวัดความดันในหลอดเลอดแดง (intra-arterial monitoring)
เป็นการวัดความดันหลอดเลือดแดงโดยตรง
ค่าปกติ MAP = 70-100 mmHg ต้องมากกว่า 60 mmHg จึงจะทำให้อวัยวะสำคัญในร่างกายมีการกำซาบของเนื้อเยื่อดี
ข้อบ่งชี้ในการวัดความดันโลหิตทางหลอดเลือดแดง
ในผู้ป่วยที่มีการไหลเวียนลดลง หรือความดันโลหิตต่ำ
ผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดซึ่งอาจเสียเลือดได้มาก
ในรายที่จำเป็นต้องตรวจ ABG หรือส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการบ่อยๆ
ผู้ป่วยที่ใช้ inotropic drugs and vasoactive drug
ผู้ป่วยที่วัดความดันโลหิตยาก
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใส่สายหลอดเลือดแดง
ตรวจสอบความแม่นยำของการปรับเทียบค่า
ดูแลระบบของ aterial line ใหม่ประสิทธิภาพ
การป้องกันการติดเชื้อ
เมื่อมีการเก็บตัวอย่างเลือดส่งตรวจทาง arterial line ต้อง flush ไม่ให้มีเลือดหรือฟองอากาศค้างในสาย
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ตรวจสอบข้อต่างๆ ให้แน่นอย่างสม่ำเสมอ ป้องกันการ งอ ของสาย aeterial line
ป้องกันการเลื่อนหลุด
ตรวจดูดคลื่นที่แสดงการอุดตันและบันทึกตำแหน่งของสายยาง หากตรวจพบลิ่มเลือดหรือฟองอากาศออก รายงานแพทย์
จดบันทึกค่า aterial blood pressure ได้ทุก 15-60 นาทีตามความจำเป็น
กรณีที่แพทย์ถอดสายยางออกควรกดแผลไว้นาน อย่างน้อย 10 นาทีหรือจนกว่าเลือดจะหยุด
การวัดค่าความดันในหลอดเลือดดำส่วนกลาง (Central venous pressure; CVP)
การวัดแรงดันเลือดของหัวใจห้องบนขวา เพื่อประเมินประมาณน้ำและเลือดในร่างกาย
เป็นความดันขอ right atrium โดยการวัดจาก Superior Vena Cava
ข้อบ่งชี้ในการติดตามค่า CVP
ในผู้ป่วยที่สูญเสียเลือดจากอุบัติเหตุหรือจากกว่าผ่าตัด ภาวะช็อก และกรณีอื่นที่ทำให้ปริมาณเลือดในร่างกายลดลง
ในผู้ป่วยที่มีภาวะน้ำเกิน
ในกรณีที่ต้องการประเมินการทำงานของหัวใจและหลอดเลือด
การแปลงค่า
ปกติอยู่ในช่วง 6-12 cmH2O (2-12 mmHg)
ใช้ pressure transducer ซึ่งมีหน่วยเป็น mmHg
ใช้ water manometer หรือใช้ไม้บรรทัดที่มีสายยางมีหน่วยเป็น cmH2O
ป้องกันการอุดตันของสายสวน
การป้องกันฟองอากาศเข้าหลอดเลือดโดยดูแลให้เป็นระบบปิด ป้องกันการเลื่อนหลุดของสาย ป้องกันฟองอากาศเข้าสู่หลอดเลือดขณะวัด CVP หรือเปลี่ยนชุดให้สารน้ำและก่อนฉีดยาทางสายสวน
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วย
หายใจและหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ชนิดของเครื่องช่วยหายใจ
เครื่องช่วยหายใจประเภทความดันบวกที่ใส่ท่อช่วยหายใจ
การแบ่งประเภท
Synchronized Intermittent mandatory ventilation (SIMV)
เป็นการหายใจที่มีทั้งการหายใจเองและการหายใจด้วยเครื่องช่วยหายใจ
ผู้ป่วยสามารถหายใจได้ในระหว่างการช่วยหายใจด้วยเครื่อง
เป็นการเตรียมการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
Spontaneous ventilation
เป็นการหายใจที่ผู้ป่วยเริ่มหายใจเอง และเป็นผู้กำหนดระยะ
เวลาและปริมาตรอากาศที่หายใจเข้าด้วยตนเองทั้งหมด
Continuous positive airway pressure (CPAP)
การหายใจที่ให้แรงดันบวกต่อเนื่องในระดับเดียวกันทั้งในช่วงหายใจเข้าและออก โดยไม่มีการส่งแรงดัน
Pressure support ventilator (PSV)
การหายใจที่เครื่องช่วยผู้ป่วยขณะที่ผู้ป่วยสามารถหายใจได้เอง
เครื่องจะช่วยจ่ายก๊าซเพื่อให้ความดันตามที่ตั้งไว้
หยุดจ่ายก๊าซเมื่อผู้ป่วยไม่ต้องการแล้ว
Control mandatory ventilation (CMV) หรือ Assist/control (A/C) ventilation
การหายใจทุกครั้งถูกกำหนดด้วยเครื่องช่วยหายใจทั้งหมด ผู้ป่วยไม่มีการหายใจเองเลย
ตัวอย่าง ตั้งอัตราการหายใจ 14 ครั้ง ผู้ป่วยหายใจ 22 ครั้ง เครื่องจะช่วยหายใจทั้ง 22 ครั้ง
ภาวะแทรกซ้อนจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ
ระบบหัวใจและไหลเวียนเลือด
เลือดดำจากอวัยวะในส่วนล่างของร่างกายหลับสู่หัวใจได้ลดลง
แรงต้านการไหลกลับของเลือดดำสูงขึ้น
ปริมาตรเลือดแดงที่ส่งออกจากหัวใจลดลง
การบาดเจ็บของปอดจากการใช้ปริมาตรการหายใจที่สูงเกินไป
ความดันคงค้างในถุงลมปอดมากกว่า 35 เซนติเมตรน้ำ
ถุงลมถ่างขยายมากเกินไป
Pulmonary barotruma
ลมที่รั่วออกมาจะกระจายเข้าสู่เนื้อเยอะหรืออวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย
การบาดเจ็บของทางเดินหายใจ
มักพบในผู้ป่วยที่ใส่ท่อหลอดลมคอเป็นเวลานาน
ควรมีการวัดและบันทึกความดันในกระเปาะลมไม่ให้เกิน 20-25 mm.Hg
ภาะปอดแฟบ
เกิดจากการตั้งปริมาตรการหายใจต่ำและไม่มีการตั้งถอนหายใจ
การเกิดปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ
เกิดจากการสำลักเชื้อจุลชีพจากปากหรือลำคอผ่าหลอดลมเข้า
สู่ปอดหรือการหายใจเอาละอองที่มีจุลชีพเข้าไปในปอด
Oxygen toxicity
การได้รับออกซิเจนมากว่า 0.6 นานเกิน 24-48 ชั่วโมง หรือความเข้มข้น 1.0 นานเกิน 24 ชั่วโมง
ผู้ป่วยมีอาการไอ แน่นหน้าอก หอบเหนื่อย
ระบบทางเดินอาหาร
การเกิดแผลหรือภาวะเลือดออกในทางเดินอาหาร
อาการท้องอืด อาจมีสาเหตุจากการเคลื่อนไหวของลำไส้ลดลงเนื่องจากภาวะพร่องออกซิเจน การได้รับยาสงบประสาท หรือยาแก้ปวด
ผลตอภาวะโภชนาการ
เนื่องจากผู้ป่วยมีอาการไม่คงที่ เปลี่ยนแปลงได้ตลอด จึงต้องงดน้ำงดอาหาร ทำให้ร่างกายต้องนำกลูโคสที่ตับไปใช้ในการสังเคราะห์น้ำตาล ส่งผลเสียต่อการทำงานหลายระบบ รวมถึงระบบภูมิคุ้มกัน
เครื่องช่วยหายใจประเภทความดันบวกที่ไม่ใส่ท่อช่วยหายใจ
ช่วยในการแลกเปลี่ยนก๊าซให้ดีขึ้น
แก้ไขภาวะกรดจากการหายใจ
ลดอัตราการหายใจ แต่ควบคมการแลกเปลี่ยนก๊าซได้ไม่ดีเท่าเครื่องช่วยหายใจประเภทความดันบวกที่ใส่ท่อช่วยหายใจ
ไม่เหมาะสำหรับผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพของปอดรุนแรง
เกิดภาวะท้องอืดง่าย
การดูดเสมหะลำบากกว่า
ชนิด
Continuous Positive Airway Pressure (CPAP)
Bilevel Positive Airway Pressure (BiPAP)
ข้อบ่งชี้การใช้เครื่องช่วยหายใจ
ภาวะพร่องออกซิเจน
ในภาวะที่ร่างกายมีความจำเป็นในการใช้ออกซิเจนในปริมาณสูง
ความล้มเหลวของการระบายอากาศ
ผู้ป่วยที่มีภาวะลมเหลวของการระบายอากาศ
เกิดภาวะความเป็นกรดในเลือด จากการที่มีคาร์บอนไดออกไซด์ในกระแสเลือดที่มากกว่าปกติ
กล้ามเนื้อกะบังลมไม่มีแรง
ในผู้ป่วยที่ได้รับยาที่กดศูนย์หายใจ
ความผิดปกติของระบบประสาทส่วนกลางหรือระบบประสาทส่วนปลาย
ระบบไหลเวียนโลหิตในร่างกายผิดปกติ ในภาวะช็อกร่างกายมีความต้องการออกซิเจนปริมาณสูง
ทำให้เลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่าง ๆ ลดลง
ในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว การใช้เครื่องช่วยหายใจจะทำให้เลือดกลับสู่หัวใจลดลง
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลด้านจิตใจ
ประคับประคองโดยการอธิบายเกี่ยวกับการเจ็บป่วย วิธีการรักษาอย่างมีเหตุผล แจ้งทุกครั้งเมื่อต้องให้การพยาบาล รวมไปถึงครอบครัวและญาติ
การดูแลด้านร่างกาย
การป้องกันไม่ให้เกิดการอุดกั้นของทางเดินหายใจ
การดูแลเครื่องช่วยหายใจทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ และดูแล Tubing system ของเครื่องช่วยหายใจให้เป็นระบบปิด
การดูแลท่อหลอดลมและความสุขสบายในช่องปากของผู้ป่วย
การป้องกันภาวะปอดแฟบ
ประเมินสภาพผู้ป่วยและภาวะแทรกซ้อน
การติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการที่สำคัญ
การหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ขณะหย่าเครื่องช่วยหายใจ
จัดท่าศีรษะสูงหรือนั่ง
เริ่มทำการหย่าเครื่องช่วยหายใจเมื่อผู้ป่วยพร้อมทั้งร่างกายและจิตใจ
ดูดเสมหะเพื่อให้ทางเดินหายใจโล่ง
วัดสูญญาณชีพและควาเข้มข้นของออกซิเจนปลายนิ้วก่อน
อธิบายวิธีการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
เฝ้าระวังอาการเปลี่ยนแปลงทุก 15 นาทีถึง 1 ชั่วโมง
เริ่มหย่าเครื่องช่วยหายใจตอนเช้าหลังจากผู้ป่วยพักผ่อนเต็มที่ในเวลากลางคืน
ในกรณีไม่สามารถหย่าเครื่องช่วยหายใจโดย T piece 10 LPM ต่อไปได่ ให่ต่อท่อช่วยหายใจเข้ากับเครื่องช่วยหายใจ setting ก่อนหน้าที่จะหย่าเครื่องช่วยหายใจ
หลังหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ให้ O2 mask with collugate 10 LPM 2 ชั่วโมง หลังจากนั้นเป็น O2 cannula 3-6 LPM
vital sign q 15-30 minute and 1 hour จนกว่าจะ stable เฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด
จัดท่านั่งศีรษะสูง
ก่อนหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ประเมินความพร้อมของผู้ป่วยที่สามารถทำการหย่าเครื่องช่วยหายใจได้
วิธีการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ผู้ป่วยหายใจทาง T piece หรือหายใจเองสลับกับเครื่องช่วยหายใจเป็นพักๆ
การใช้เครื่องช่วยหายใจ mode
SIMV,PSV,CPAP
SIMV ใช้สำหรับผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจมานานและใช้แบบ piece ไม่ได้ผล
PSV ถ้าผู้ป่วยมีอาการดี ให้ลดระดับความดันครั้งละ 2-4 เซนติเมตรน้ำ ลดได้ทุก 1-2 ชั่วโมง จนความดันน้อยกว่าหรือเท่ากับ 5-7 เซนติเมตรน้ำ ได้นาน 1-2 ชั่วโมง พิจารณาการถอดเครื่องช่วยหายใจได้
ยาที่ใช้บ่อยในผู้ป่วยวิกฤต
ยาที่ใช้ในภาวะ Pulseless Arrest
Epinephrine หรือ Adrenaline
Amiodarone (Cordarone)
ยาที่ใช้ในภาวะ Bradyarrhythmia
Atropine
ยาที่ใช้ในภาวะ Tachyarrthythmia
Adenosine
Digoxin (Lanoxin)
ยากระตุ้นความดันโลหิต
(Vasopressor)
Dobutamine
Norepinephine
Dopamine (Inopin)
ยาขยายหลอดเลือด
(Vasodilators)
Nicardipine
Sodium Nitroprusside
Nitroglycerin (NTG)
นางสาวรักษ์ชนนี โกษาวัง 6001211375 เลขที่ 63 Section A