Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 ผลลัพธ์ทางสุขภาพและต้นทุน (Health out comes and Unit cost),…
บทที่ 6
ผลลัพธ์ทางสุขภาพและต้นทุน
(Health out comes and Unit cost)
สภาวะสุขภาพ
คือ สภาพการมีชีวิตทางกายภาพ ทางจิตใจ และทางสังคมที่สมบูรณ์ไม่ใช้ เพียงไม่มีโรคภัยหรือความเจ็บป่วยทางกายเท่านั้น
ทางเลือกและการตัดสินใจ
ซักประวัติ ตรวจร่างกาย
การวินิจฉัยเบื้องต้น
การวินิจฉัยโรคที่แน่นอน
การรักษา
การส่งตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติมทางห้องปฏิบัติการและรังสีวิทยา
คำถามที่ต้องการคำตอบ
- FFICACY
ดีจริงหรือไม่?
- FFECTIVENESS
ได้ผลในทางปฏิบัติหรือไม่?
- FFICIENCY
คุ้มกับต้นทุนหรือไม่?
- QUITY
เป็นธรรมหรือไม่?
ประสิทธิภาพ (Efficiency)
ประสิทธิภาพเชิงเทคนิค (Technical efficiency)
ไม่ใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลือง
ความคุ้มค่า (Cost effectiveness)
สร้างผลผลิตโดยใช้ต้นทุนต่ำที่สุด
ประสิทธิภาพในการจัดสรร (Allocative efficiency)
สร้างผลผลิตตามชนิดและปริมาณที่คนทั้งหลายให้คุณค่า
ผลลัพธ์ทางสุขภาพในการประเมินทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินทางเศรษฐศาสตร์ ระหว่างต้นทุน (costs) และผลลัพธ์ (benefits)
การวัดผลทางสุขภาพ
แหล่งข้อมูลที่ดีของการวัดผลทางสุขภาพ
Health status evaluation
Antenatal Care
Infant morality rate
Joint pain
Movement
AIDS
CD4 > 500
Measuring health and Valuing health
Health outcomes
Measuring health
การวัดผลลัพธ์สุขภาพ โดยเน้นการวัดที่
ดูการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพ
Valuing health
การวให้ค่าสุขภาพ โดยวิธีการการอัตรา “Rate” ให้น้ำหนัก “Weight”
ประเภทของผลลัพธ์ทางคลินิก
(Clinical outcome type)
ผลลัพธ์ที่เป็นตัวแทน หรือ ผลลัพธ์ระยะกลาง
(Surrogate outcomes or Intermediate outcomes)
มีการกำหนดผลลัพธ์ขึ้นมาเพื่อเป็นตัวเทนผลลัพธ์สุขภาพ
ข้อดี
มีค่าที่ชัดเจน
เห็นการเปลี่ยนแปลงระยะสั้น
วัดถึงค่าใช้ที่เกิดขึ้นใรยะสั้น
ข้อเสีย
ไม่ได้ผลลัพธ์สุดท้าย
อาจคาดเคลื่อน
ผลลัพธ์สุดท้าย
(Final outcomes)
เป็นสิ่งที่มีคุณค่าและมีความสำคัญกับผู้ป่วย
ข้อดี
เป็นตัวแทนถึงผลลัพธ์สุดท้าย
ครอบคลุมการรักษา
มีความชัดเจนในนโยบาย
ข้อเสีย
ใช้เวลานาน
ค่าใช้จ่ายสูง
ต้นทุนทางด้านสุขภาพ
(Health care cost)
มุมมองต้นทุน
ประเภทของต้นทุน (Cost classification)
ประเภทของการศึกษาต้นทุน (Unit cost analysis type)
ประโยชน์ของการศึกษาต้นทุน
แนวคิดและปรัชญาเศรษศาสตร์
ของฟรีไม่มีในโลก
วงจรการผลิตและการบริโภคด้านสุขภาพ
ต้นทุนที่ไม่ได้อยู่ในรูปตัวเงิน
ต้นทุนที่อยู่ในรูปของรูปเงิน
ต้นทุน
ผู้จ่ายเงิน (Payer or Purchaser perspective)
ผู้ให้บริการ (Hospital or provider perspective)
ผู้ป่วย (Patient perspective)
มุมมองด้านสังคม (Societal perspective)
ประเภทของต้นทุน (Cost classification)
ต้นทุนที่จับต้องได้ (Tangible costs) และ ต้นทุนที่จับต้องไม่ได้ (Intangible costs)
ต้นทุนทางการแพทย์ (Medical costs) และ ต้นทุนส่วนที่ไม่ใช่การแพทย์ (Non-medical costs)
ต้นทุนค่าลงทุน (Capital costs) และ ต้นทุนดำเนิน (Operational [Recurrent] costs)
ต้นทุนทางตรง (Direct costs) และ ต้นทุนทางอ้อม (Indirect costs)
ต้นทุนแยกตามพฤติกรรมของต้นทุน
ต้นทุนคงที่
(Fixed cost: FC)
ต้นทุนผันแปร (Variable cost:VC)
ต้นทุนรวม (Total cost: TC หรือ Full cost)
ต้นทุนเฉลี่ย (Average cost)
ต้นทุนและการวิเคราะห์
ผลผลิต (OUTPUT)
บริการ OPD
บริการ IPD
การเรียนการสอน
งานวิจัย
จำนวนงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่
จำนวนนักศึกษา
จำนวนวันนอนผู้ป่วยใน
จำนวนครั้งของบริการ
ประเภทของการศึกษาต้นทุน
Cost Centre Approach
จัดแบ่งหน่วยงานออกเป็นหน่วยงานต้นทุน
(Cost Centre Identification & Grouping)
หาต้นทุนรวมโดยตรงของแต่ละหน่วยงาน
(Direct Cost Determination)
หาวิธีกระจายต้นทุนที่เหมาะสม
(Allocation criteria)
หาต้นทุนรวมทั้งหมด
(Full Cost Determination)
หาต้นทุนต่อหน่วย
(Unit Cost)
ต้นทุนค่าแรง (LABOUR COST)
เงินเดือน
สวัสดิการ
ค่าเล่าเรียนบุตร
ค่าช่วยเหลื่อบุตร
ค่ารักษาพยาบาล
ค่าตอบแทนล่วงเวลา
ค่าเช้าบ้าน
อื่นๆ
ต้นทุนค่าวัตถุ (MATERIAL COST)
ค่าวัสดุสำนักงาน
วัสดุงานบ้าน
วัสดุเครื่องแต่งกาย
ยา เวชภัณฑ์
วัสดุก่อสร้าง
สาธารณูปโภค
วัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์
ค่าซ่อมแซมต่างๆ
ค่าต้นทุน
อายุการใช้งานเกิน 1 ปี
อาคาร สิ่งปลูกสร้าง
เครื่องมือ ุปกรณ์ ครุภัณฑ์
ยานพาหนะ
มิติที่กำหนดต้นทุน
การคำนวณต้นทุนทางลัด
เก็บรวบรวมข้อมูลรายจ่ายทุกหมวดตลอดปี
ค่าแรง
ค่าวัสดุ
ค่าครุภัณฑ์
ข้อมูลผลงานการให้บริการ
: จำนวนผู้รับบริการ แต่ละแผนก
ปัจจัยที่ส่งผลการวิเคราะห์ต้นทุนแตกต่างกัน
แหล่งข้อมูลที่ต่างกันส่งผลให้ได้
ข้อมุลต้นทุนแตกต่างกัน
วิธีการวิเคราะห์ต่างกัน ต้นทุน
ทางเศรษฐศาสตร์
การกระจายต้นทุนต่างกัน
การวเคราะห์ข้อมูลมุมมองต่างกัน
การใช้ข้อมูลและเวลาที่ต่างกัน
ประโยชน์ของการศึกษาข้อมูลต้นทุน
ทำให้มีข้อมูลและสามารถนำเสนอค่าใช้จ่ายตามหมวด
และมิติต่างๆได้อย่างรวดเร็ว
ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพ จากการเปรียบเทียบต้นทุนกับผลลัพธ์ที่จะได้
ใช้คำนวณอัตราคืนทุน
ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับผู้บริหาร
Activity Approach
ระบบทุนฐานกิจกรรม
(Activity-Based Costing : ABC)
หน่วยต้นทุนกิจกรรม
ฝากครรภ์
ตรวจห้องปฏิบัติการ
จ่ายยา
กิจกรรมการตวรจตา
วิเเคราะห์และระบุหน่วยกิจกรรม
(Determine activity analysis unit)
หาต้นทุนรวมโดยตรงของแต่ละหน่วยงาน
(Direct Cost Determination)
หาวิธีการกระจายต้นทุนที่เหมาะสม
(Allocation criteria)
หาต้นทุนรวมทั้งหมดของแต่ล่ะกิจกรรม
(Full Activity Cost Determination)
หาต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม
(Activity unit Cost)
นางสาว อภิษฐา อาบทิพย์ ห้อง 1B เลขที่ 80 รหัส 623601171