Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทารกที่มีมารดาติดสารเสพติด - Coggle Diagram
ทารกที่มีมารดาติดสารเสพติด
ผลกระทบของสารเสบติดต่อทารก
ทารกติดเชื้อในครรภ์หรือติดเชื้อตั้งแต่กำเนิด( congenital infection)
ทารกเสียชีวิตในครรภ์
ทารกเจริญเติบโตช้า
โอกาสเกิด sudden infant death syndrome (SIDS) สูง
ทารกพิการ แต่กำเนิด (congenital anomaly)
น้ำหนักแรกคลอดต่ำ (low birth weight)
ทารกแรกคลอดมีอาการของการขาดยา (neonatal abstinence syndrome, NAS)
ผลกระทบของเฮโรอีนต่อทารก
ทารกแรกเกิดจึงมีอาการที่แสดงถึงการขาดสารเสพติดหรือที่เรียกว่าอาการถอนยา (withdrawal symptom)
ทารกได้รับสารเสพติดติดต่อกันตลอดระยะของการตั้งครรภ์เกิดการติดสารเสพติดขึ้น
ทารกทารกในครรภ์ขาดสารอาหารทุกชนิด
ทารกทารกมีภาวะออกซิเจนในเลือดต่ำเนื่องจากเฮโรอีนยับยั้งการนำออกซิเจน เข้าสู่เซลล์ร่วมกับหลอดเลือดสายสะดือมีการหดรัดตัวทำให้คลอดออกมามีภาวะ RDS
ทารกในครรภ์เจริญเติบโตล่าช้าจำนวนการแบ่งตัวของเซลล์และ growth hormone ลดลง
ทารกคลอดก่อนกำหนด
ผลกระทบของสุราต่อทารก
มารดาที่ดื่มสุรา 6 แก้วต่อวันในไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์หรือ 3 ออนซ์ต่อวัน ตลอดการตั้งครรภ์
ประกอบด้วย
เป็นโรคหัวใจ แต่กำเนิด
spina bifida
มีลักษณะผิดรูปของใบหน้าชัดเจนที่ศีรษะเล็ก
แขนขาผิดปกติอวัยวะสืบพันธุ์ผิดปกติ (พบน้อย)
ระดับสติปัญญาต่ำกว่าปกติ
ริมฝีปากบางคล้ายปากปลา ขากรรไกรเล็กกว่าปกติ
การกลืนมีปัญหาหลังดูดนมจะอาเจียน
ตาเล็กผิดปกติ หนังตาบนสั้น ตาปิดไม่สนิท จมูกสั้น สันจมูกแบน บางรายพบตาเหล่
การเจริญเติบโตของกล้ามเนื้อและระบบประสาททำงานไม่ดี
เส้นลายมือมีเพียงเส้นเดียวไม่สามารถกำมือแน่น ๆ ได้มีอาการสั่นในช่วง 1 เดือนแรกหลังคลอด
มีการเจริญเติบโตช้าในครรภ์น้ำหนักตัวน้อยความยาวสั้นกว่าปกติภายหลังตลอดน้ำหนักขึ้นช้ามากกว่าปกติถึง 30 เท่าและส่วนสูงขึ้นช้ากว่าปกติ
The Fetal alcohol Study Group
การเจริญเติบโตช้าก่อนและหรือหลังคลอด
ความผิดปกติบริเวณใบหน้าเช่นตาเล็กดั้งจมูกแบนจมูกสั้นริมฝีปากบนบางหูต่ำหรือระดับหูไม่เท่ากัน
The Fetal alcohol Study Group เกณฑ์ในการวินิจฉัยกลุ่มอาการต้องมีความผิดปกติอย่างน้อย 1 อย่างของแต่ละกลุ่มใน 3 กลุ่มต่อไปนี้
ความผิดปกติของระบบประสาทส่วนกลาง ได้แก่ หัวเล็กปัญญาอ่อน neurobehavioral development ผิดปกติเช่น hyperactivity
ผลกระทบของการสูบบุหรี่ต่อทารก
เนื้อเยื่อขาดออกซิเจนเรื้อรังจากหลอดเลือดหดรัดตัวร่วมกับมีระดับคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดมากขึ้น
การเจริญเติบโตช้ามีน้ำหนักน้อย
คลอดก่อนกำหนดและเกิดภาวะหายใจลำบาก
มีสติปัญญาต่ำ
ผลกระทบของ Nicotine
หัวใจทารกเต้นผิดปกติ
uteroplacental blood flow ลดลง
ทำให้หัวใจเต้นเร็วความดันโลหิตสูง
ทารกได้รับสารอาหารน้อย
ทารกได้รับออกซิเจนน้อย
หลั่ง catecholamine มากขึ้น
ผลกระทบของแอมเฟตามีน
น้ำหนักแรกเกิดน้อย
ภาวะเลือดออกในสมองภาวะสมองตายทำให้มีการทำลายเซลล์ประสาทเส้นรอบศีรษะมีขนาดเล็กซึ่งมีผล ต่อสมาธิความจำ
เด็กมีปัญหาพฤติกรรมในระยะยาว
มีความผิดปกติของหัวใจ แต่กำเนิด
อุบัติการณ์
รกเกาะต่ำ
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
รกออกตัวก่อนกำหนด
การเสียชีวิตและบาดเจ็บในช่วงปริกำเนิด (perinatal)
แท้ง
Sudden infant death syndrome (SIDS)
แนวทางการรักษา
การรักษาแบบประคับประคองโดยการรักษาตามอาการเช่นระวังภาวะขาดน้ำและอาหารดังนั้นจึงอาจพิจารณาให้นมผสมได้
การรักษาแบบจำเพาะคือการบรรเทาอาการขาดยา และ/หรือใช้ร่วมกับยาที่ทำให้ทารกสงบ ได้แก่ Phenobarbital, Chlorpromazine, Diazepam เป็นต้น
บทบาทพยาบาล
ดูแลให้ทารกได้รับนมผสมตามความต้องการของร่างกาย / เปิดโอกาสให้มารดาที่สามารถเลิกสารเสพติดได้เลี้ยงบุตรด้วย นมตนเอง
รายงานอาการของทารกให้มารดาและบิดาทราบเป็นระยะ
จัดทารกให้อยู่ในที่สงบและห่อตัวทารกไว้หรืออุ้มทารก
ติดตามผล การรักษาในระยะยาวร่วมกับสหวิชาชีพ
ประเมินอาการถอนยาของทารกแรกเกิด
Neonatal abstinence syndrome (NAS)
อาการขาดยาของทารกอาจเกิดขึ้นไม่กี่นาทีหลังคลอดจนถึงอายุ 14 วันส่วนมากจะเกิดขึ้นภายใน 72 ชั่วโมง
พบได้ประมาณ 30 – 90% ของทารกที่มารดาเสพติด heroin
อาการ
ไม่ยอมดูดนม
หายใจผิดปกติ Sucking
ทารกจะร้องเสียงแหลม
Swallowing เสียไป
การรักษา
Methadone 1-2 mg วันละ 2 ครั้ง
Paregoric 0.1-0.5 mg / kg ทุก 4 ชั่วโมง
Phenobarbital 2-4 mg / kg ทุก 8 ชั่วโมงเป็นยาที่แนะนำให้ใช้
diazepam 1-2 mg วันละ 2 ครั้ง
อาการถอนยาเสพติดในทารกแรกเกิด
ระบบทางเดินอาหาร
ทำให้มีอาการขาดน้ำและขาดสารอาหารเสียสมดุลของและสารละลายในระบบไหลเวียนโลหิต
อาการอื่น ๆ เช่นเหงื่อออกหิวเร็ว แต่ดูดไม่เก่งท้องอืดหายใจเร็วหัวใจเต้นเร็ว
ถ่ายเป็นน้ำและถ่ายบ่อย
อาเจียน เป็นไข้ กินน้ำและนมได้น้อย
ระบบประสาท
ถูกกด
ทารกจะหาว จาม
Mono reflex ลดลงหิวแต่ดูดไม่เป็น
ถูกกระตุ้น
แบบขาสั่นเทิ้มหรือสั่นทั้งตัว
อาจชักขยับตัวไปมา นอนหลับไม่สนิท ดิ้นมาก
ปัญหาสำคัญของทารกที่มีอาการถอนยา
สมองขาดออกซิเจนเนื่องจากระบบประสาทถูกกดและจากการชัก
เกิดแผลถลอกหรือแผลลึก บริเวณอวัยวะส่วนยื่นทั้งหลาย เช่น จมูกเข่า ข้อศอก ศีรษะ
มีภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำเนื่องจากกินนมได้น้อย
ภาวะทุพโภชนาการน้ำหนักลดเพราะได้แคลอรีไม่เพียงพอ
เสียสมดุลของน้ำและสารละลายในร่างกายจากการท้องเดินและอาเจียน
อาการถอนยาเสพติดในทารกแรกเกิด
สารละลายในเลือด
ทารกจะดิ้นมากจึงอาจมีแผลจากการดิ้นถูกไถไปกับที่นอน
ระบบประสาทถูกกด (CNS depression) ทารกจะมีอาการหาวจาม Mono reflex ลดลง
อาการอื่น ๆ เช่นเหงื่อออกท้องอืดหายใจเร็วหัวใจเต้นเร็ว
ระบบประสาทถูกกระตุ้น (CNS instability) ทา รกจะมีอาการแขนขาสั่นเทิ้มหรือสั่นทั้งตัวอาจถึงชักในบางรายขยับตัวไปมานอนหลับไม่สนิท
ขยับปากทำท่าคล้ายจะดูด แต่ดูดไม่เก่งเนื่องจากการประสานงานของการดูดและการกลืนยังไม่ดีกินน้ำและนมได้น้อย
หงุดหงิดร้องกวนตลอดเวลา
ถ่ายเป็นน้ำและถ่ายบ่อยอาเจียนเสียสมดุลของน้ำ