Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผลลัพธ์ทางสุขภาพ และ ต้นทุน (Health out comes and Unit cost),…
ผลลัพธ์ทางสุขภาพ และ ต้นทุน
(Health out comes and Unit cost)
สภาวะสุขภาพ
“สภาพของการมีชีวิต ทางกายภาพ ทางจิตใจ และทางสังคมที่สมบูรณ์ ไม่ใช้เพียงไม่มีโรคภัยหรือความเจ็บป่ วยทางกายเท่านั้น”
เรามีทางเลือกและ...เราต้องตัดสินใจ
ซักประวัติ
ตรวจร่างกาย
การวินิจฉัย
เบื้องต้น
การวินิจฉัย
โรคที่แน่นอน
การรักษา? ยา? หัถการ?
การส่งตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติมทางห้องปฏิบัติการและรังสีวิทยา
ประสิทธิภาพ (Efficiency)
ไม่ใชท้ รัพยากรอยา่ งสิ้นเปลือง
ประสิทธิภาพเชิงเทคนิค (Technical
efficiency)
สร้างผลผลิตโดยใช้ต้นทุนต ่าที่สุด
ความคุ้มค่า (Cost effectiveness)
สร้างผลผลิตตามชนิดและปริมาณที่คนท้งัหลายให้คุณค่าสูง
ที่สุด
ประสิทธิภาพในการจัดสรร (Allocative efficiency)
คำถามที่ต้องการคำตอบ
FFICACY ดีจริงหรือไม่
FFECTIVENESS ได้ผลในทางปฏิบัติ
หรือไม่
FFICIENCY คุ้มกับต้นทุน
หรือไม
QUITY เป็นธรรมหรือไม่
ใคร Who
อะไร What
ใคร Whom
ปริมาณเท่าไหร่ What amount
ทรัพยาการอะไร What resources
มีหลายทางเลือกในการด าเนินการ
การประเมินบริการทางสุขภาพ
ผลลัพธ์ทางสุขภาพในการประเมินทางเศรษฐศาสตร์
Outcomes in economic evaluation
การประเมินทางเศรษฐศาสตร์เป็นการประเมินระหว่าง ต้นทุน (costs)และ ผลลัพธ์ (benefits)
การวัดผลทางสุขภาพมีความสำคัญในการประเมินทางเศรษฐศาสตร์
อะไรถือว่าเป็นแหล่งข้อมูลทีดีของ
การวัดผลทางสุขภาพ
Health status evaluation การประเมินสถานะสุขภาพ
การวัดผลลัพธ์ในรูปของสภาวะสุขภาพ มีความซับซ้อน และยุ่งยากมากกว่าโครงการต่าง และบริการทางการแพทย์มีความแตกต่างกันที่จุดมุ่งหมายและวิธีการ ถึงแม้ว่าจะมีจุดมุ่งหมายให้ผู้ป่วยมีสุขภาพด
Health outcomes ผลลัพธ์ด้านสุขภาพ
Measuring health
การวัดผลลัพธ์สุขภาพสามารถรถวัดได้หลากหลายโดยเน้นการวัดที่ดูการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพเช่น Blood pressure,Glucose level, White blood cell
Valuing health
การให้ค่าสุขภาพ เป็นอีกทางเลือกหนึ่ง โดยวิธีการหาอัตรา “Rate” ให้น้ำหนัก “Weight” โดยผลลัพธ์สุขภาพถูกระบุโดยการให้ค่าความพึงพอใจ Preferences ในขณะที่อยู่ในสภาวะสุขภาพนั้นๆ
ประเภทของผลลัพธ์ทางคลินิก (Clinical outcome type)
ผลลัพธ์ที่เป็นตัวแทนหรือผลลัพธ์ระยะกลาง (Surrogate outcomes or Intermediate outcomes)
มีการกำหนดผลลัพธ์ขึ้นมาเพื่อเป็นตัวแทนผลลัพธ์สุขภาพ
• ค่าที่ได้จากห้องปฏิบัติการ (Laboratory)
• ค่าสัญญาณทางกายภาพ (Physical sign)
ผลลัพธ์สุดท้าย (Final outcomes)
ผลลัพธ์ทางสุขภาพขั้นสุดท้าย ซึ่งเป็นสิ่งที่มีคุณค่าและมีความส้าคัญกับผู้ป่วย
• การรอดชีวิต (Survival)
• การปฏิบัติหน้าที่ (Function)
• ความรู้สึก (Feeling)
ผลลัพธ์สภาวะสุขภาพและผลของการรักษา
ซักประวัติ
ตรวจร่างกาย
การวินิจฉัย
เบื้องต้น
การวินิจฉัย
โรคที่แน่นอน
การรักษา? ยา? หัตถการ?
ผลระยะสั้น
(Short term outcomes)
วัดโดยใช้ผลลัพธ์ที่เป็นตัวแทน
(Surrogate outcomes)
ผลระยะยาว
(Long term outcomes)
วัดโดยใช้ผลลัพธ์สุดท้าย
(Final outcomes)
การส่งตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติมทางห้องปฏิบัติการและรังสีวิทยา
ผลลัพธ์ท่ีเป็นตัวแทนและผลลัพธ์สุดท้าย
โรค/ภาวะที่ท้าการประเมิน
Surrogate outcomes
Final outcomes
ความดันโลหิตสูง (Hypertension)
ข้อดีและข้อเสียของผลลัพธ์ทางสภาวะสุขภาพ
ผลท่ีเป็นตัวแทน
Intermediate outcomes
ข้อดี
•มีค่าที่ชัดเจน
•สามารถเห็นการเปลี่ยนแปลงระยะสั้น
•สามารถวัดถึงค่าใช้ท่ีเกิดขึ้นในระยะสั้น
ข้อเสีย
•ไม่ได้บ่งชี้ถึงผลลัพธ์สุดท้าย
•อาจส่งผลที่คลาดเคลื่อนในด้านนโยบาย
ผลสุดท้าย
Final outcomes
ข้อดี
•เป็นตัวแทนท่ีสะท้อนถึงการ เปลี่ยนแปลงของผลลัพธ์สุดท้าย
•ครอบคลุมผลการรักษา
•มีความชัดเจนด้านนโยบาย
ข้อเสีย
•อาจจะนานเกินไปในการเฝ้าติดตามผู้ป่วย
•ค่าใช้จ่ายสูง
ต้นทุนทางด้านสุขภาพ
(Health care cost)
วงจรการผลิตและการบริโภคด้านสุขภาพ
ปัจจัยนำเข้าการผลิตบริการสุขภาพ
•ต้นทุนท่ีไม่ได้อยู่ในรูปตัวเงิน (คน อุปกรณ์ วิธีการ)
• ต้นทุนที่อยู่ในรูปของตัวเงิน (งบประมาณด้านการจัดบริการสุขภาพ)
Perspectives of cost considered
ต้นทุน -->ในมุมมองของใคร?
ผู้จ่ายเงิน(PayerorPurchaserperspective)
ค่าใช้จ่ายที่ขอเบิกจ่ายจากผู้ จ่าย
ผู้ให้บริการ(Hospitalorproviderperspective)
ต้นทุนที่แท้จริงในการให้บริการ(โดยไม่คำนึงว่าเรียกเก็บเท่าไร)
ผู้ป่วย(Patientperspective)จำนวนเงินที่ผู้ป่วย
ต้องจ่ายเพื่อรับบริการและ ต้นทุนอื่นๆที่เกิดขึ้น
มุมมองด้านสังคม(Societalperspective)ต้นทุนโดยรวมทั้งหมดที่เกิดขึ้นกับส่วนต่างๆในสังคมทั้งต้นทุนด้านการรักษาและต้นทุนไม่ใช่การรักษา (All medical and nonmedical costs)
ประเภทของต้นทุน (Cost classification)
ต้นทุนท่ีจับต้องได้ (Tangible costs) vs.
ต้นทุนที่จับต้องไม่ได้ (Intangible costs)
ต้นทุนทางการแพทย์ (Medical costs) vs.
ต้นทุนส่วนท่ีไม่ใช่การแพทย์ (Non-medical costs)
ต้นทุนค่าลงทุน (Capital costs) vs.
ต้นทุนดําเนินกําร (Operational [Recurrent] costs)
ต้นทุนทางตรง (Direct costs) vs.
ต้นทุนทํางอ้อม (Indirect costs)
ต้นทุนแยกตามพฤติกรรมของต้นทุน
-ต้นทุนคงที่ (Fixed cost: FC)
-ต้นทุนผันแปร (Variable cost:VC)
-ต้นทุนรวม (Total cost: TC หรือ Full cost)
-ต้นทุนเฉลี่ย(Average cost)
= ต้นทุนต่อหน่วย (Unit cost)
ต้นทุนและการวิเคราะห์ระบบ
ต้นทนุ ต่อหน่วย ต้นทุนเฉลี่ย
COST / OUTPUT
==========
ต้นทุนรวมท้ังหมด
ผลผลิตท้ังหมด
ผลผลิต (OUTPUT)
บริการ OPD
จำนวนคร้ังของบริการ
บริการ IPD
จำนวนวันนอนผู้ป่วยใน
การเรียนการสอน
จำนวนนักศึกษา
งานวิจัย
จำนวนงานวิจัยท่ีตีพิมพเ์ผยแพร่
ประเภทของการศึกษาต้นทุน
1.Cost Centre Approach
ขั้นตอนในการศึกษาต้นทุน: Cost Centre Approach
1.จัดแบ่งหน่วยงานออกเป็นหน่วยงานต้นทุน
(Cost Centre Identification & Grouping)
2.หาต้นทุนรวมโดยตรงของแต่ละหน่วยงาน
(Direct Cost Determination)
3.หาวิธีกระจายต้นทุนที่เหมาะสม (Allocation criteria)
4.หาต้นทุนรวมทั้งหมด
(Full Cost Determination)
5.หาต้นทุนต่อหน่วย (Unit Cost)
การหาต้รทุนทางตรงของแต่ละหน่วยงาน
( DIRECT COST DETERMINATION )
ต้นทุนค่าแรง
(LABOUR COST)
เงินเดือน
สวัสดิการ
(Fringe Benefit)
-ค่าเล่าเรียนบุตร
-ค่าช่วยเหลือบุตร
-ค่าโรงพยาบาล
-ค่าตอบแทนร่วงหน้า
ต้นทุนค่าวัสดุ
(MATERIAL COST)
ค่าวัสดุสำนักงาน
วัสดุงานบ้าน
ค่าวัสดุแต่งกาย
ยา เวชภัณฑ์
วัสดุก่อสร้าง
ต้นทุนค่าลงทุน
(CAPITAL COST)
-อายุการใช้งานเกินกว่า1ปีหรือมีมูลค่าเกินจำนวนท่ีกำหนด
-อาคารและสิ่งปลูกสร้าง
-เครื่องมืออุปกรณ์ครุภณั ฑ์:X-raysmachine, ตูเ้ยน็ , โต๊ะ, เก้าอี้
-ยานพาหนะ : รถยนต์, มอเตอร์ไซด์, รถฉุกเฉิน,
2.Activity Approach
เป็นเครื่องมือในการบริหารงานในลักษณะ
การบริหารงานฐานคุณค่า(Value-Based Management)
ขั้นตอนในการศึกษาต้นทุน
Cost Centre Approach
1.วิเคราะห์และระบุหน่วยกิจกรรม
(Determine activity analysis unit)
2.หาต้นทุนรวมโดยตรงของแต่ละหน่วยงาน
(Direct Cost Determination)
3.หาวิธีกระจายต้นทุนท่ีเหมาะสม
(Allocation criteria)
4.หาต้นทุนรวมทั้งหมดของแต่ละกิจกรรม
(Full Activity Cost Determination)
5.หาต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม(Activity unit Cost)
3.การค้านวณต้นทุนทางลัด
เก็บรวบรวมข้อมูลรายจ่ายทุกหมวดตลอดปี
ค่าแรง: ค่าแรงท่ีควบคุมได้ , ค่าแรงท่ีควบคุมไม่ได้
ค่าวัสดุ: ค่าวัสดุส้ินเปลือง ค่าเวชภัณฑ์
ค่าสาธารณูปโภค ค่าใช้สอย คาซ่อมแซม
ค่าครุภัณฑ์: ค่าเสื่อมราคาครุภัณฑ์ ค่าเสื่อมราคาสิ่งก่อสร้าง
ระดับความดันโลหิต
(Blood pressure)
การเสียชีวิตจากโรคหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular disease)
ภาวะไขมันในเลือดสูง
ระดับ LDL-C และ HDL-C
การเสียชีวิตจากเส้นเลือดแตก ตีบ และ ตัน (Stroke)
กระดูกพรุน (Osteoporosis)
ความหนาแน่นของมวลกระดูก (Bone mineral density)
กระดูกหัก (Bone fracture)
ภูมิคุ้มกันบกพร่อง AIDS
การตรวจคัดกรองเบาหวาน (Screening test for diabetes mellitus)
ระดับ CD 4
จำนวนผู้ป่วยที่ตรวจพบ
(Case detected)
การเสียชีวิตจากโรคเอดส์และโรคฉวย โอกาส
(Death with complications)
การเสียชีวิตจากภาวะแทรกซ้อน (Death with complications)
นางสาวอุมาพร ชื่นจิตรชม เลขที่88 ห้องA