Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤษที่ใช้เทคโนโลยีและยาที่ใช้บ่อยใน ICU, Non-invasive…
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤษที่ใช้เทคโนโลยีและยาที่ใช้บ่อยใน ICU
ยาที่ใช้บ่อยในผู้ป่วยวิกฤต
ยาที่ใช้ในภาวะ Pulseless Arrest
Epinephrine หรือ Adrenaline 1 mg/ml/ampule (1: 1,000)
ใช้เป็นยาตัวแรกในการทำ CPR
Cardiac arrest
เริ่ม 1 mg IV และให้ซ้ำทุก 3-5 นาที
ขนาดยาที่ให้ทางท่อช่วยหายใจ (endotracheal tube) ขนาด 2-2.5 mg
ผลข้างเคียง tachycardia, arrhythmias, hypertension
การพยาบาล
V/S ทุก 15 นาที ติดต่อกัน 2 ครั้ง เมื่อเริ่มให้ยา
ปรับเพิ่ม/ลดขนาดยา เมื่อ BP< 90/60 หรือ >140/90 mmHg หรือ HR>120 ครั้ง/นาที
Amiodarone (Cordarone®)
ยารักษาหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิด Atrial fibrillation และ Atrial flutter
หัวใจห้องล่างเต้นผิดจังหวะชนิด Ventricular fibrillation (VF) และ Ventricular tachycardia (VT)
ขนาด
ทำ CPR ขนาด 300 mg หรือ 5 mg/kg เจือจางใน D5W 20 ml. IV push
หัวใจห้องล่างผิดปกติ ให้อีก 150 mg หรือ 2.5 mg/kg
Amiodarone injection 150 mg/ 3 mL เจือจางใน D5W เท่านั้น
ผลข้างเคียง
vasodilatation และ hypotension
Bradycardia, hypothyroidism, hyperthyroidism, thrombophlebitis
ยาในภาวะ Bradyarrhythmia
Atropine
แก้ไขภาวะหัวใจเต้นช้าผิดปกติและ AV block
ขนาด 0.6-1 mg ทุก 3-5 นาที
ให้ IV Bolus: Undiluted or dilute 1-10 ml ฉีด 15–30 วินาที
ผลข้างเคียง : tachycardiaท้องอึด การเคลื่อนไหวของลำไส้ลดลง
การพยาบาล
V/S monitor EKG อัตราการเต้นของหัวใจและความดันโลหิต
ไม่ควรให้ถ้า HR > 60 ครั้ง/นาที
รายงานแพทย์เมื่อ HR > 120 ครั้ง/นาที monitor HR ทุก 5 นาที
3.ยาที่ใช้ใน Tachyarrhythmia
Adenosine
เป็นยาตัวแรก ในภาวะ reentry SVT
ขนาด : Adenosine 6 mg/2 ml/vial IV ขนาด 6 mg ฉีดเร็ว ๆ ภายใน 1–3 วินาที ตามด้วย NSS bolus 20 ml พร้อมกับยกแขนสูง (double syringe technique) ให้ยาซ้ำได้อีก 12 mg
ผลข้างเคียง : อาการหน้าแดง (flushing) เหนื่อยและแน่นหน้าอก
-ออกฤทธิ์ได้เร็ว (10 วินาที) และหมดฤทธิ์เร็ว จึงต้องฉีดเร็วๆ บริเวณ upper extremities และ flush NSS ตาม 20 ml ด้วยวิธี double syringe technique
-ยามี half-life สั้นมากเพียง 0.5-5 วินาทีเป็นยาที่ออกฤทธิ์ได้เร็ว (10 วินาที) และหมดฤทธิ์เร็ว
-ฉีดเร็วๆ บริเวณ upper extremities และ flush NSS ตาม 20 ml ด้วย วิธี double syringe technique
Digoxin (Lanoxin ®)
นำไปใช้
Heart failure
หัวใจเต้นผิดจังหวะแบบ AF, atrial flutter และ SVT
ขนาด: Digoxin injection 0.5 mg/ 2 mL amp (=0.25 mg/mL)
ผลข้างเคียง
หัวใจเต้นช้าชนิด Sinus bradycardia
หัวใจเต้นผิดจังหวะ AV block, Atrial fibrillation
V/S 15 นาทีติดต่อกัน 2 ครั้ง ต่อไปทุก 30 นาที ติดต่อกัน 3 ครั้ง ต่อไปทุก 1 ชั่วโมง จนครบ 6 ชั่วโม
monitor EKG ขณะฉีดยา และหลังฉีดยา 1 ชั่วโมง
4.ยากระตุ้นความดันโลหิต
Dopamine (Inopin®)
ขนาด
ขนาดต่ำ (0.5-3 mcg/kg/min) เพิ่มการไหลเวียนเลือดไปยังไต
ขนาดปานกลาง (3-10 mcg/kg/min) เพิ่มการบีบตัวของหัวใจ
ขนาดสูง (10-20 mcg/kg/min) เพิ่มความดันโลหิตและอัตราการเต้นของหัวใจ
ยา 1 Amp บรรจุ 10 ml มีความเข้มข้นของยา 250 mg 1:1, 2:1, 4:1 (ความเข้มข้นของยา:สารละลาย)
ผลข้างเคียง
การรั่วของยาทำให้เนื้อเยื่อตายได้
คลื่นไส้ , ปวดศีรษะ อาเจียน หัวใจเต้นเร็ว เจ็บหน้าอก หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ตรวจดู IV site ทุก 1 ชั่วโมง
monitor ECG urine out put ทุก 0.5 -1 ชั่วโมง
Dobutamine
เพิ่ม cardiac output
ในผู้ป่วยหัวใจวาย หรือ cardiogenic shock
Dobutamine 2-20 mcg/kg/min
ผลข้างเคียง
เกิดความดันโลหิตสูงหัวใจเต้นเร็วและเต้นผิดจังหวะได้
อาการเจ็บแน่นหน้าอกจากกล้ามเนื้อหัวใจตายเพิ่มขึ้น
การรั่วของยาทำให้เนื้อเยื่อตายได้
Norepinephrine (Levophed®) กลุ่ม Adrenergic agonist
ขนาดยา 0.01-3 mcg/kg/min
รักษาภาวะ septic shock และ cardiogenic shock ระดับรุนแรง
ผลข้างเคียง
หัวใจเต้นผิดจังหวะ ปวดศีรษะ ความดันโลหิตสูง กระวนกระวาย หายใจลำบาก
การรั่วของยาทำให้เนื้อเยื่อตายได้
5 ยาขยายหลอดเลือด (Vasodilators)
Nicardipine
ภาวะ Hypertensive crisis
ขนาด: ยา 1 Amp ขนาด 2mg/2 ml หรือ 10 mg/10 ml
ผลข้างเคียง
ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ หน้าแดง
ใจสั่น หัวใจเต้นช้า ความดันโลหิตต่ำ
การรั่วออกของยาทำใหหลอดเลือดอักเสบ
monitor ECG อาการข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้น ทุก 0.5 -1 ชั่วโมง
Sodium Nitroprusside
การนำไปใช้
Acute coronary syndrome, Chest pain (angina pectoris)
Heart failure โดยช่วยในการลด preload
ขนาด 5-10 mcg/min เพิ่มทีละ 5-10 mcg/min ทุก 5-10 นาที
ผลข้างเคียง Hypotension, Tachycardia, Flushing, headache
การพยาบาล
V/S
monitor EKG
Nitroglycerin (NTG)
V/S ทุก 5 นาทีหลังให้ยา และติดตามทุก 1 ชั่วโมง
ผลข้างเคียง
เกิดพิษจาก cyanide มักพบในผู้ป่วยที่ได้รับยาในขนาดสูง (10-15 mcg/kg/min) นานมากกว่า 1 ชั่วโมง ความรู้สึกตัวลดลงและมีภาวะความเป็นกรดในเลือดสูงขึ้น
คลื่นไส้อาเจียน ปวดศีรษะ เหงื่อออกมาก
ขนาดยา : เตรียมยาผสม 50 mg ใน D5W 250 ml
ลด afterload ในภาวะหัวใจวายเฉียบพลัน
ใช้ในผู้ป่วย hypertensive emergency
การพยาบาลผู้ป่วยใส่สายสวนหลอดเลือด (central line monitor)
การวัดความดันในหลอดเลือดแดง (intra-arterial monitoring)
การสอดใส่สายยางเข้าไปในเส้นเลือดแดง (arterial line; A-line) และนำมาต่อกับเครื่องวัด (manometer)
การวัดความดันของหลอดเลือดแดงโดยตรง
ค่าปกติ MAP = 70-100 mmHg
ข้อบ่งชี้
การไหลเวียนลดลง หรือความดันโลหิตต่ำ
ได้รับการผ่าตัดเสียเลือดมาก
ผู้ป่วยใช้ inotropic drugs และ vasoactive drug
ตำแหน่งของเส้นเลือดที่นิยมใส่ arterial catheter
Redial artery ,Brachial artery, Femoral artery และ Dorsalis pedis
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใส่สายหลอดเลือดแดง (arterial line)
1.ตรวจสอบเทียบค่า (Accuracy)
Levelling the transducer
Zeroing the transducer เป็นการปรับกับความดันบรรยากาศ
set zero เครื่องทุก 8 ชั่วโมง
2.ดูแลระบบของ arterial line ให้มีประสิทธิภาพ
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
การติดเชื้อ (infection)
การเกิดเนื้อตาย (Skin necrosis)
Air embolization
ภาวะที่มีเลือดออกในเนื้อเยื่อ (Hematoma)
การไหลเวียนของเลือดไปเลี้ยงอวัยวะส่วนปลายลดลง (limb ischemia)
การเก็บตัวอย่างเลือดส่งตรวจทาง arterial line ต้อง flush สาย ไม่ให้มีเลือดหรือฟองอากาศค้างในสาย
ตรวจดูคลื่นแสดงการอุดตัน (damped waveform)
จดบันทึกค่า Arterial blood pressure ที่ได้ทุก 15-60 นาที
การวัดค่าความดันในหลอดเลือดดำส่วนกลาง (Central venous pressures; CVP)
การวัดความดันของเลือดดำส่วนกลาง หรือแรงดันเลือดของหัวใจห้องบนขวา (right atrium pressure)
ประเมินระดับของปริมาณน้ำและเลือดในร่างกาย
วัดจาก Superior Vena Cava (SVC)
บอกถึงค่า preload ของ right ventricle (RV) หรือ right ventricular end-diastolic pressure (RVEDP)
ข้อบ่งชี้ในการติดตามค่า CVP
ผู้ป่วยที่สูญเสียเลือดจากอุบัติเหตุหรือจากการผ่าตัด
มีภาวะน้ำเกิน
กรณีต้องประเมินการทำงานของหัวใจและหลอดเลือด
ตำแหน่งเส้นเลือดที่ใช้สำหรับ monitor CVP
ตำแหน่งเส้นเลือดmonitor CVP
สายสวนหลอดเลือดส่วนกลาง(central line) คือ สายสวนหลอดเลือดดำส่วนกลาง (central venous catheter; CVC) หรือ Pic line
ตำแหน่งที่แทงบ่อย มี 3 ตำแหน่ง
internal jugular vein
Femoral vein
subclavian vein
monitor CVP ทาง catheter ตำแหน่งที่ใช้
Basilic vein, Brachial vein หรือ Cephalic vein ปลายสายจะอยู่ที่ Superior Vena Cava
ค่า CVP ปกติอาจอยู่ในช่วง 6-12 cmH2O (2-12 mmHg)
การพยาบาล
การเปรียบเทียบค่า
Levelling the transducer
Zero the transducer
ป้องกันการเลื่อนหลุดของสายสวน
ป้องกันการติดเชื้อในกระแสเลือด
ป้องกันการอุดตันของสายสวน
การป้องกันฟองอากาศเข้าหลอดเลือดโดยดูแลให้เป็นระบบปิด ป้องกันการเลื่อนหลุดของสาย
1.ผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจและการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
เครื่องช่วยหายใจ (Mechanical ventilator)
ข้อบ่งชี้การใช้
ภาวะพร่องออกซิเจน (oxygenation failure)
ความล้มเหลวของการระบายอากาศ (ventilation failure)
กล้ามเนื้อกะบังลมไม่มีแรง (diaphragm fatigue)
ระบบไหลเวียนโลหิตในร่างกายผิดปกติ
ใช้สำหรับผู้ป่วยที่ไม่สามารถหายใจเองได้ หรือหายใจไม่เพียงพอ
เป็นการช่วยหายใจแบบแรงดันบวก “positive mechanical ventilator”
คำศัพท์สำคัญ
Tidal volume (VT)
ปริมาตรอากาศที่หายใจเข้าและออกจากปอดใน 1 ครั้ง
Respiratory rate (RR)
การตั้งอัตราการหายใจให้กับผู้ป่วย
ผู้ใหญ่จะอยู่ระหว่าง 12-20 ครั้ง/นาที
Minute volume (MV)
ปริมาตรลมหายใจออกทั้งหมดใน 1 นาที
Peak flow (PF)
อัตราการไหลของอากาศเข้าสู่ปอด
Inspiratory time: Expiratory time (I:E)
อัตราส่วนระหว่างเวลาที่ใช้ในการหายใจเข้าต่อเวลาที่ใช้ในการหายใจออก
Sensitivity
การตั้งค่าความไวของเครื่องที่ผู้ป่วยต้องออกแรงกระตุ้นเครื่อง
Fraction of Inspired Oxygen (Fio2)
การตั้งระดับความเข้มข้นของออกซิเจนในอากาศที่เครื่องปล่อยเข้าผู้ป่วย
ปรับได้ตั้งแต่ 21-100 เปอร์เซ็นต์
Positive End Expiratory Pressure (PEEP)
การทำให้ความดันในช่วงหายใจออกสุดท้ายมีแรงดันบวกค้างไว้ในปอดตลอดเวลา
ภาวะแทรกซ้อนจากการใช้
ผลต่อระบบหัวใจและไหลเวียนเลือด
การบาดเจ็บของปอดจากการใช้ปริมาตรการหายใจที่สูงเกินไป (Pulmonary volutrauma)
ภาวะถุงลมปอดแตก (Pulmonary barotrauma)
การบาดเจ็บของทางเดินหายใจ (Artificial airway complication)
ภาวะปอดแฟบ (Atelectasis)
การเกิดปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ (Ventilator Associated Pneumonia; VAP)
ภาวะพิษจากออกซิเจน (Oxygen toxicity)
ระบบทางเดินอาหาร
ผลต่อภาวะโภชนาการ
ชนิดของเครื่องช่วยหายใจ
Non-invasive positive ventilator; NPPV
ประเภทความดันบวกที่ไม่ใส่ท่อช่วยหายใจ
ช่วยหายใจผู้ป่วยที่ไม่มีท่อทางเดินหายใจและช่วยในการแลกเปลี่ยนก๊าซให้ดีขึ้น
ไม่เหมาะสำหรับผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพของปอดที่รุนแรง
แบ่งเป็น 2 แบบ
Continuous positive airway pressure (CPAP)
Bilevel Positive Airway Pressure (BiPAP)
Invasive positive ventilator; IPPV
ประเภทความดันบวกที่ใส่ท่อช่วยหายใจ
การอัดอากาศเข้าไปในปอดผ่านทาง endotracheal tube โดยใช้แรงดันบวก
ประเภท
Control mandatory ventilation (CMV)
วิธีช่วยหายใจที่การหายใจทุกครั้งถูกกำหนดด้วยเครื่องช่วยหายใจทั้งหมด โดยผู้ป่วยไม่มีการหายใจเองเลย
การหายใจที่ผู้ป่วยเริ่มการหายใจเองแล้วเครื่องช่วยว่า assisted breath
เรียกการหายใจที่เครื่องจ่ายอากาศโดยผู้ป่วยไม่ได้เริ่มหายใจเองว่า mandatory breath
Synchronized Intermittent mandatory ventilation (SIMV)
วิธีช่วยหายใจที่มีทั้งการหายใจเองและการหายใจด้วยเครื่องช่วยหายใจ
เป็นการเตรียมหย่าเครื่องช่วยหายใจ
Spontaneous ventilation
การหายใจที่ผู้ป่วยเป็นผู้เริ่มการหายใจเอง
Continuous positive airway pressure (CPAP)
วิธีการหายใจที่ให้แรงดันบวก (PEEP) ต่อเนื่องในระดับเดียวกันทั้งช่วงหายใจเข้าและออก
ผู้ป่วย obstructive sleep apnea
Pressure support ventilator (PSV)
เครื่องจะช่วยจ่ายก๊าซเพื่อให้ได้ระดับความดันตามที่ตั้งไว้
หยุดจ่ายอากาศเมื่อผู้ป่วยไม่ต้องการแล้ว
ผู้ป่วยจะเป็นตัวกำหนด tidal volume, respiratory rate และ inspiratory time PSV
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลด้านจิตใจ
การดูแลด้านร่างกาย
ประเมินสภาพผู้ป่วยและภาวะแทรกซ้อน
การดูแลท่อหลอดลมและความสุขสบายในช่องปากของผู้ป่วย
การป้องกันไม่ให้เกิดการอุดกั้นของทางเดินหายใจ
การดูแลให้เครื่องช่วยหายใจทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ และดูแล Tubing system ของเครื่องช่วยหายใจให้เป็นระบบปิดตรึงอยู่กับที่ไม่ให้ดึงรั้ง
การติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่สำคัญ
การป้องกันภาวะปอดแฟบ
การหย่าเครื่องช่วยหายใจ (Weaning)
ขั้นตอนที่ 1 ก่อนหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ประเมินความพร้อมของผู้ป่วยที่สามารถทำการหย่าเครื่องช่วยหายใจได้
ค่า PaO2>60 มม.ปรอท FiO2 ไม่เกิน 0.4
ค่า PEEP < 5 เซนติเมตรน้ำ
รู้สึกตัวและทำตามคำสั่ง
V/S : T<38 'c,P<100 ครั้ง/นาที ,RR< 30 ครั้ง/นาที ระดับความดันซิสโตลิก 90-160 มม.ปรอท
ค่า Spontaneous tidal volume >5 มิลลิลิตรต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม
Rate Volume Ratio (RVR) <105
ไม่ใช้ยากระตุ้นหัวใจ
วิธีการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ผู้ป่วยหายใจเองทาง T piece
2.การใช้เครื่องช่วยหายใจ mode SIMV,PSV,CPAP
Synchronized Intermittent mandatory ventilation (SIMV)
สำหรับผู้ป่วยที่ใส่เครื่องช่วยหายใจมานานและใช้แบบ T piece ไม่ได้ผล
โดยเครื่องค่อยๆ ลดการช่วยเหลือจากเครื่องโดยการตั้งค่าการหายใจของเครื่องให้ต่ำกว่าการหายใจของผู้ป่วย
Pressure support ventilation (PSV)
วิธีลดงานในการหายใจของผู้ป่วย โดยเครื่องจะปล่อยแรงดันในช่วงที่ผู้ป่วยหายใจเข้าด้วยตนเอง
ผู้ป่วยเป็นผู้กำหนดอัตราการหายใจ เวลาในการหายใจเข้าและปริมาตรของอากาศ (tidal volume) ด้วยตนเอง
Continuous Positive Airway Pressure (CPAP)
เป็นการหย่าเครื่องช่วยหายใจ โดยเครื่องช่วยหายใจปล่อยแรงดันบวกเข้าปอดตลอดเวลา
ขั้นตอนที่ 2 ขณะหย่าเครื่องช่วยหายใจ
เริ่มหย่าเครื่องช่วยหายใจตอนเช้าหลังจากพักผ่อนเต็มที่
ลดความกลัว ให้ผู้ป่วยร่วมมือและให้กำลังใจผู้ป่วย
ดูดเสมหะเพื่อให้ทางเดินหายใจโล่ง
จัดท่าศีรษะสูงหรือท่านั่ง
เริ่มทำการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
วัดสัญญาณชีพและความเข้มข้นของออกซิเจนปลายนิ้ว ก่อน ขณะการหย่าเครื่องช่วยหายใจ ทุก 5-10 นาที
เฝ้าระวังอาการเปลี่ยนแปลงทุก 15 นาทีถึง 1 ชั่วโมง
การถอดท่อช่วยหายใจ
cuff leak test ผ่าน
GCS>10 คะแนน
ไอขับเสมหะได้แรงพ้นท่อช่วยหายใจ
หายใจผ่าน T piece 10ลิตร/นาที เกิน 2 ชั่วโมง
แพทย์พิจารณา (extubation)
ขั้นตอนที่ 3 หลังหย่าเครื่องช่วยหายใจ
จัดท่าผู้ป่วยท่านั่งศีรษะสูง
ให้ O2 mask with collugate 10 ลิตร/นาที 2 ชั่วโมง หลังจากนั้นให้ O2 cannula 3-6 ลิตร/นาที
V/S ทุก 15-30 นาทีและทุก 1 ชั่วโมง