Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤติที่ใช้เทคโนโลยี และยาที่ใช้บ่อยใน ICU,…
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤติที่ใช้เทคโนโลยี
และยาที่ใช้บ่อยใน ICU
เครื่องช่วยหายใจ
(Mechanical ventilator)
คำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง
Tidal volume (VT)
ปริมาตรอากาศที่หายใจเข้าและออกจากปอดใน 1 ครั้ง หน่วยเป็นมิลลิลิตร คํานวณตามน้ําหนักตัว ค่าปกติ 6-8 มิลลิลิตร/น้ําหนักตัว 1กิโลกรัม
Respiratoryrate(RR)
การตั้งอัตราการหายใจให้กับผู้ป่วยสําหรับผู้ใหญ่จะอยู่ระหว่าง12-20ครั้ง/นาที
Minute volume (MV)
ปริมาตรลมหายใจออกทั้งหมดใน 1 นาที มีหน่วยเป็นลิตร/นาที
Peak flow (PF)
อัตราการไหลของอากาศเข้าสู่ปอดมีหน่วยเป็นลิตร/นาที เป็นการควบคุมช่วง ระยะเวลาหายใจเข้า
Inspiratory time: Expiratory time (I:E)
อัตราส่วนระหว่างเวลาที่ใช้ในการหายใจเข้าต่อเวลาที่ใช้ในการหายใจออก ส่วนใหญ่ตั้ง 1 ต่อ 2 หรือ 1 ต่อ 3 ขึ้นอยู่กับพยาธิสภาพของปอด
Sensitivity
การตั้งค่าความไวของเครื่องที่ผู้ป่วยต้องออกแรงกระตุ้นเครื่อง เพื่อเริ่มต้นการ หายใจเข้า
Fraction of Inspired Oxygen (Fio2)
การตั้งระดับความเข้มข้นของออกซิเจนในอากาศท่ีเครื่องปล่อยเข้าผู้ป่วย ปรับได้ ต้ังแต่ 21-100 เปอร์เซ็นต์ (ความเข้มข้นของออกซิเจน 40% หมายถึง Fio2 0.4
ข้อบ่งชี้การใช้เครื่องช่วยหายใจ
ภาวะพร่องออกซิเจน (oxygenation failure)
ความล้มเหลวของการระบายอากาศ (ventilation failure)
กล้ามเนื้อกะบังลมไม่มีแรง (diaphragm fatigue)
ระบบไหลเวียนโลหิตในร่างกายผิดปกติ
ชนิดของเครื่องช่วยหายใจ
Non-invasivepositiveventilator;NPPV
ไม่ใส่ท่อช่วยหายใจ
Continuous positive airway pressure (CPAP)
Bilevel Positive Airway Pressure (BiPAP)
2.Invasive positive ventilator; NPPV
ใส่ท่อช่วยหายใจ
การอัดอากาศเข้าไปในปอด
endotracheal tube
tracheostomy
ประเภทของเครื่องช่วยหายใจ
Controlmandatoryventilation(CMV)หรือAssist/control(A/C)ventilation
การหายใจที่ผู้ป่วยเริ่มการหายใจเองแล้ว เรียกassisted breath
การหายใจที่เครื่องจ่ายอากาศโดยผู้ป่วยไม่ได้เริ่มหายใจเองเรียกว่า mandatory breath หรือ control breath
ช่วยหายใจที่การหายใจทุกครั้งถูกกําหนดด้วยเครื่องช่วยหายใจทั้งหมดโดยผู้ป่วยไม่มี
การหายใจเองเลย
Synchronized Intermittent mandatory ventilation (SIMV)
หายใจเองและการหายใจด้วยเครื่องช่วยหายใจ
การกระตุ้นการหายใจโดยเครื่องจะสัมพันธ์กับการหายใจของผู้ป่วย
Spontaneous ventilation
การหายใจที่ผู้ป่วยเป็นผู้เริ่มการหายใจเอง
ผู้ กําหนดระยะเวลาและปริมาตรอากาศที่หายใจเข้าด้วยตนเองทั้งหมด
3.1 Continuouspositiveairwaypressure(CPAP)
ให้แรงดันบวก(PEEP) ต่อเนื่องในระดับเดียวกันทั้งในช่วงหายใจเข้าและออก
3.2 Pressuresupportventilator(PSV)
การหายใจที่เครื่องช่วยผู้ป่วยในขณะที่ผู้ป่วย สามารถหายใจได้เอง เครื่องจะช่วยจ่ายแก๊สเพื่อให้ได้ระดับความดันตามที่ตั้งไว้
ภาวะแทรกซ้อนจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ
ผลต่อระบบหัวใจและไหลเวียนเลือด
เลือดดําไหลกลับหัวใจลดลง
ปริมาตรเลือดแดงที่ส่งออกจากหัวใจ (cardiac output) ลดลง
การบาดเจ็บของปอดจากการใช้ปริมาตรการหายใจที่สูงเกินไป(Pulmonaryvolutrauma)
ภาวะถุงลมปอดแตก(Pulmonarybarotrauma)
การบาดเจ็บของทางเดินหายใจ (Artificial airway complication)
ภาวะปอดแฟบ(Atelectasis)
การเกิดปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ (Ventilator Associated Pneumonia; VAP)
ภาวะพิษจากออกซิเจน(Oxygentoxicity)
ระบบทางเดินอาหาร
การเกิดแผลหรือภาวะเลือดออกในทางเดินอาหาร
ผลต่อภาวะโภชนาการ
งดน้ํางดอาหาร
การพยาบาลผู้ที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลด้านจิตใจ
ประคับประคองด้านจิตใจโดยอธิบายเกี่ยวกับการเจ็บป่วย
ดูแลความสุขสบายทั่วไป
ลดสิ่งรบกวนต่าง ๆ เช่น แสงสว่าง เสียงดัง
การดูแลด้านร่างกาย
1) ประเมินสภาพผู้ป่วยและภาวะแทรกซ้อน
2) การดูแลท่อหลอดลมและความสุขสบายในช่องปากของผู้ป่วย
เหนือ Carina ประมาณ 1 นิ้ว
การใส่ลมในกระเปาะ ควรอยู่ระหว่าง 20-25 มิลลิเมตรปรอท
suction
mouth care
3) การป้องกันไม่ให้เกิดการอุดกั้นของทางเดินหายใจ
4.)การดูแลให้เครื่องช่วยหายใจทํางานอย่างมีประสิทธิภาพ และดูแล Tubing system ของเครื่องช่วย หายใจให้เป็นระบบปิด
6) การติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่สําคัญ
5) การป้องกันภาวะปอดแฟบ
Deep lung inflating
การหย่าเครื่องช่วยหายใจ (Weaning)
ขั้นตอน
ขั้นตอนที่ 1 ก่อนหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ประเมินความพร้อมของผู้ป่วยที่สามารถทําการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
วิธีการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ผู้ป่วยหายใจเองทาง T-piece
การใช้เครื่องช่วยหายใจ mode SIMV,PSV,CPAP
ขั้นตอนที่ 2 ขณะหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ควรเริ่มหย่าเครื่องช่วยหายใจในตอนเช้าหลังจากผู้ป่วยพักผ่อนเต็มที่ในเวลากลางคืน
อธิบายวิธีการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ดูดเสมหะในปากและท่อช่วยหายใจ
จัดท่าของผู้ป่วยให้อยู่ในท่าศีรษะสูง
ดสัญญาณชีพและความเข้มข้นของออกซิเจนปลายนิ้ว (Oxygen saturation) ก่อน ขณะการหย่า เครื่องช่วยหายใจ ทุก 5-10 นาที
การถอดท่อช่วยหายใจ
เกณฑ์การพิจารณาถอดท่อช่วยหายใจ
แพทย์พิจารณาให้ถอดท่อช่วยหายใจได้
สามารถหายใจผ่าน T piece 10ลิตร/นาที เกิน 2 ชั่วโมง
สามารถไอขับเสมหะออกมาได้แรงพ้นท่อช่วยหายใจ
สึกตัวดีหรือ GCS>10
ประเมิน cuff leak test ผ่าน
ขั้นตอนที่ 3 หลังหย่าเครื่องช่วยหายใจ
จัดท่าผู้ป่วยท่านั่งศีรษะสูง
ให้ O2 mask with collugate 10 ลิตร/นาที เป็นเวลา 2 ชั่วโมง หลังจากนั้นเป็น O2 cannula 3-6
ลิตร/นาที
วัดสัญญาณชีพทุก 15 นาที ทุก 30 นาทีและทุก 1 ชั่วโมงจนกว่าจะคงที่และเฝ้าระวังอาการของผู้ป่วย
อย่างใกล้ชิด
การพยาบาลผู้ป่วยใส่สายสวนหลอดเลือด (central line monitor)
ข้อบ่งชี้
ผู้ป่วยที่มีการไหลเวียนลดลง หรือความดันโลหิตต่ํา เช่น ในภาวะช็อก ผู้ป่วยประสบอุบัติเหตุขั้น รุนแรงหลายระบบ
ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัดซึ่งอาจเสียเลือดได้มาก
ในรายที่จําเป็นต้องการตรวจ arterial blood gas หรือส่งเลือดตรวจทางห้องปฏิบัติการบ่อย ๆ
ผู้ป่วยที่ใช้ inotropic drugs และ vasoactive drug
ผู้ป่วยที่วัดความดันโลหิตยาก เช่น ผู้ป่วยถูกไฟไหม้ทั้งตัว
ต่าแหน่งของเส้นเลือดที่นิยม
Redial artery
การพยาบาล
transducer กับความดันบรรยากาศ ให้อยู่ในระดับ 0
set zero เครื่องทุก 8 ชั่วโมง
ดูแลระบบของ arterial line ให้มีประสิทธิภาพ
0.9% NSS 500 cc ผสมกับ Heparin 2,000-2,500 ยูนิต
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
sterile technique
การวัดค่าความดันในหลอดเลือดดําส่วนกลาง (Central venous pressures; CVP)
แรงดันเลือด ของหัวใจห้องบนขวา (right atrium pressure)
ข้อบ่งชี้
ผู้ป่วยที่สูญเสียเลือดจากอุบัติเหตุหรือจากการผ่าตัด ภาวะ shock
ผู้ป่วยที่มีภาวะน้ําเกิน
กรณีที่ต้องการประเมินการทํางานของหัวใจและหลอดเลือด
CVP ปกติ อาจอยู่ในช่วง 6-12 cm H2O (2-12 mmHg)
ยาที่ใช้บ่อยในผู้ป่วยวิกฤต
Pulseless Arrest
Epinephrine หรือ adrenaline 1 mg/ ml/ ampule (1: 1,000)
Amiodarone
Bradyarrhythmia
Atropine
Tachyarrhythmia
Adenosine
Digoxin
ยากระตุ้นความดันโลหิต (Vasopressor)
Dopamine
Dobutamine
Norepinephrine (Levophed®)
ยาขยายหลอดเลือด (Vasodilators)
Nicardipine
Sodium Nitroprusside
Nitroglycerin (NTG)
นางสาวสุปรียา ถาวิโร 6001210026 secB No1