Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เทคโนโลยี และยาที่ใช้บ่อยใน ICU - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เทคโนโลยี และยาที่ใช้บ่อยใน ICU
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจและการหย่าเครื่องช่วยหายใจ เครื่องช่วยหายใจ (Mechanical ventilator)
ชนิดของเครื่องช่วยหายใจ
Non-invasive positive ventilator; NPPV
หมายถึงเครื่องช่วยหายใจที่ให้การช่วยหายใจผู้ป่วยที่ไม่มีท่อทางเดินหายใจซึ่งสามารถช่วยในการแลกเปลี่ยนก๊าซให้ดีขึ้น แก้ไขภาวะกรดจากการหายใจ
Invasive positive ventilator; IPPV
เครื่องช่วยหายใจประเภทความดันบวกที่ใส่ท่อช่วยหายใจ เป็นเครื่องช่วยหายใจที่ใช้มากที่สุดในภาวะวิกฤต
การแบ่งประเภทของเครื่องช่วยหายใจ (Mode of ventilator)
Synchronized Intermittent mandatory ventilation (SIMV) เป็นวิธีช่วยหายใจที่มีทั้งการ หายใจเองและการหายใจด้วยเครื่องช่วยหายใจ
Spontaneous ventilation การหายใจที่ผู้ป่วยเป็นผู้เริ่มการหายใจเอง
Control mandatory ventilation (CMV) เป็นวิธีช่วยหายใจที่การหายใจทุกครั้งถูกกำหนดด้วยเครื่องช่วยหายใจทั้งหม
ข้อบ่งชี้การใช้เครื่องช่วยหายใจ
ความล้มเหลวของการระบายอากาศ (ventilation failure)
กล้ามเนื้อกะบังลมไม่มีแรง (diaphragm fatigue)
ภาวะพร่องออกซิเจน (oxygenation failure)
ระบบไหลเวียนโลหิตในร่างกายผิดปกติ
ภาวะแทรกซ้อนจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ
ภาวะปอดแฟบ (Atelectasis)
การเกิดปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ (Ventilator Associated Pneumonia; VAP)
การบาดเจ็บของทางเดินหายใจ (Artificial airway complication)
ภาวะพิษจากออกซิเจน (Oxygen toxicity)
ภาวะถุงลมปอดแตก (Pulmonary barotrauma)
ระบบทางเดินอาหาร
การบาดเจ็บของปอดจากการใช้ปริมาตรการหายใจที่สูงเกินไป (Pulmonary volutrauma)
ผลต่อภาวะโภชนาการ
ผลต่อระบบหัวใจและไหลเวียนเลือด
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การป้องกันไม่ให้เกิดการอุดกั้นของทางเดินหายใจ
การดูแลให้เครื่องช่วยหายใจทํางานอย่างมีประสิทธิภาพ และดูแล Tubing system
ประเมินสภาพผู้ป่วยและภาวะแทรกซ้อน , การดูแลท่อหลอดลมและความสุขสบายในช่องปากของผู้ป่วย
การป้องกันภาวะปอดแฟบ
การดูแลด้านจิตใจ ผู้ป่วยที่ใส่เครื่องช่วยหายใจขณะที่ยังรู้สึกตัว
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่สําคัญ เช่น Electrolyte imbalance ค่าก๊าซใน หลอดเลือดแดง (ABGs)
การหย่าเครื่องช่วยหายใจ (Weaning)
ขั้นตอนที่ 2 ขณะหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ดูดเสมหะเพื่อให้ทางเดินหายใจโล่ง ส่งเสริมให้อากาศผ่านเข้าออกอย่างมีประสิทธิภาพ
จัดท่าศีรษะสูงหรือท่านั่ง หากไม่มีข้อห้ามเพื่อส่งเสริมการขยายตัวของปอด
อธิบายวิธีการหย่าเครื่องช่วยหายใจคร่าวๆ เพื่อลดความกลัว ให้ผู้ป่วยร่วมมือและให้กําลังใจผู้ป่วย
เริ่มทําการหย่าเครื่องช่วยหายใจเมื่อประเมินสภาพผู้ป่วยว่าพร้อมทั้งทางร่างกายและจิตใจ
ควรเริ่มหย่าเครื่องช่วยหายใจในตอนเช้าหลังจากผู้ป่วยพักผ่อนเต็มที่ในเวลากลางคืน
วัดสัญญาณชีพและความเข้มข้นของออกซิเจนปลายนิ้ว (Oxygen saturation)
เฝ้าระวังอาการเปลี่ยนแปลงทุก 15 นาทีถึง 1 ชั่วโมง
ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่สามารถหย่าเครื่องช่วยหายใจโดย T piece 10 ลิตร/นาที ต่อไปได้
ขั้นตอนที่ 3 หลังหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ให้ O2 mask with collugate 10 ลิตร/นาที 2 ชั่วโมง หลังจากนั้นเป็น O2 cannula 3-6 ลิตร/นาที
วัดสัญญาณชีพทุก 15-30 นาทีและทุก 1 ชั่วโมงจนกว่าจะคงที่และเฝ้าระวังอาการผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
จัดท่าผู้ป่วยท่านั่งศีรษะสูง
ขั้นตอนที่ 1 ก่อนหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ประเมินความพร้อมของผู้ป่วยที่สามารถทําการหย่าเครื่องช่วยหายใจได้
การพยาบาลผู้ป่วยใส่สายสวนหลอดเลือด (central line monitor)
การวัดการไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤต
การวัดความดันในหลอดเลือดแดง (intra-arterial monitoring)
ข้อบ่งชี้ในการวัดความดันโลหิตทางหลอดเลือดแดง
ในรายที่จำเป็นต้องการตรวจ arterial blood gas
ผู้ป่วยที่ใช้ inotropic drugs และ vasoactive drug
ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัดซึ่งอาจเสียเลือดได้มาก
ผู้ป่วยที่วัดความดันโลหิตยาก
ผู้ป่วยที่มีการไหลเวียนลดลง หรือความดันโลหิตต่ำ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใส่สายหลอดเลือดแดง (arterial line)
เมื่อมีการเก็บตัวอย่างเลือดส่งตรวจทาง arterial line ต้อง flush สาย
ตรวจสอบข้อต่อต่าง ๆ ให้แน่นอย่างสม่ำเสมอ ป้องกันการหัก งอ
การป้องกันการติดเชื้อ (Infection)
การป้องกันการเลื่อนหลุด ควร immobilized arm โดยใช้ arm broad ที่เหมาะสม
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ตรวจดูคลื่นที่แสดงการอุดตัน (damped waveform) และบันทึกตำแหน่งของสายยาง
จดบันทึกค่า Arterial blood pressure ที่ได้ทุก 15-60 นาที
แพทย์ถอดสายยางออกแล้วควรกดตำแหน่งแผลไว้นาน อย่างน้อย 10 นาที หรือจนกว่า เลือดจะหยุด ทำความสะอาดแผลและปิดแผลด้วย plaster ที่เหนียวให้แน่น ด้วยหลักปราศจากเชื้อ
ดูแลระบบของ arterial line ให้มีประสิทธิภาพ
ตรวจสอบความแม่นยำของการปรับเทียบค่า (Accuracy)
การวัดค่าความดันในหลอดเลือดดำส่วนกลาง (Central venous pressures; CVP)
ข้อบ่งชี้ในการติดตามค่า CVP มีดังนี้
ในผู้ป่วยที่มีภาวะน้ำเกิน
ในกรณีที่ต้องการประเมินการทำงานของหัวใจและหลอดเลือด
ในผู้ป่วยที่สูญเสียเลือดจากอุบัติเหตุหรือจากการผ่าตัด ภาวะ shock และกรณีอื่นที่ทำให้ปริมาณเลือดและน้ำในร่างกายลดลง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีสายสวนหลอดเลือดดำส่วนกลาง (Central venous pressures; CVP)
ป้องกันการติดเชื้อในกระแสเลือดจากการใส่สายสวนหลอดเลือดดำส่วนกลาง
ป้องกันการอุดตันของสายสวน
ป้องกันการเลื่อนหลุดของสายสวน
การป้องกันฟองอากาศเข้าหลอดเลือดโดยดูแลให้เป็นระบบปิด ป้องกันการเลื่อนหลุดของสาย
ความแม่นยำของการเปรียบเทียบค่า
ยาที่ใช้บ่อยในผู้ป่วยวิกฤต
ยาที่ใช้ในภาวะ Bradyarrhythmia
Atropine
ยาที่ใช้ในภาวะ Tachyarrhythmia
Adenosine
Digoxin (Lanoxin ®)
ยาที่ใช้ในภาวะ Pulseless Arrest
Epinephrine หรือ Adrenaline
Amiodarone (Cordarone®)
ยากระตุ้นความดันโลหิต (Vasopressor)
Dopamine (Inopin®)
Dobutamine
Norepinephrine (Levophed®)
ยาขยายหลอดเลือด (Vasodilators)
Nicardipine
Sodium Nitroprusside
Nitroglycerin (NTG)