Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 การพยาบาลแบบองค์รวมในทารกแรกเกิด ที่มีภาวะเสี่ยงและปัญหาสุขภาพ …
บทที่ 9 การพยาบาลแบบองค์รวมในทารกแรกเกิด
ที่มีภาวะเสี่ยงและปัญหาสุขภาพ :warning:
ทารกน้ำหนักตัวผิดปกติ ความผิดปกติเกี่ยวกับอายุครรภ์ทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย
ทารกคลอดก่อนกำหนด (Preterm baby) และน้ำหนักตัวน้อย (Low birth weightinfant)
ความหมาย
ทารกที่เกิดเมื่ออายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์เต็มหรือน้อยกว่า 259 วัน และมีน้ำหนักตัวน้อยกว่า 2,500 กรัม
ลักษณะของทารก
น้ำหนักตัวน้อย
รูปร่างรวมทั้งแขนขามีขนาดเล็ก
ศีรษะจะมีขนาดใหญ่เมื่อเทียบกับลำตัว กะโหลกศีรษะนุ่ม รอยต่อกะโหลกศีรษะและขม่อมกว้าง
เปลือกตาบวมและนูนออกมา ตามักปิดตลอดเวลา
ผิวหนังบางสีแดงและเหี่ยวย่น มองเห็นเส้นเลือดใต้ผิวหนังได้ชัดเจน มักบวมตามมือและเท้า
ไขเคลือบตัว (vernix caseosa) มีน้อยหรือไม่มีเลย
พบขนอ่อน (Lanugo hair) ได้ที่บริเวณใบหน้า หลังและแขน ส่วนผมมีน้อย
ลายฝ่ามือฝ่าเท้ามีน้อยและเรียบ เล็บมือเล็บเท้าอ่อนนิ่มและสั้น
กล้ามเนื้อมีกำลังน้อย เมื่อขยับแขนขาคล้ายอาการกระตุก ขณะนอนหงาย มีการเคลื่อนไหวน้อย
หัวนมมีขนาดเล็ก หรือมองไม่เห็นหัวนม
เสียงร้องเบา และร้องน้อยกว่าทารกแรกเกิดคลอดครบกำหนด
การเจริญของกระดูกหูมีน้อย ใบหูอ่อนนิ่ม เป็นแผ่นเรียบ และงอพับได้ง่าย
reflex ต่างๆ มีน้อยหรือไม่มี
หายใจไม่สม่ำเสมอ มีการกลั้นหายใจเป็นระยะ (Periodic breathing) เขียวและหยุดหายใจ (Apnea) ได้ง่าย
ผลกระทบ
ระบบทางเดินหายใจ
ปอดพัฒนาไม่เต็มที่ ทำให้เกิดRDS
ศูนย์ควบคุมการหายใจใน Medulla ยังเจริญไม่เต็มที่ กล้ามเนื้อช่วยการหายใจไม่สมบูรณ์ ทำให้เกิด Periodic breathing
ระบบประสาท
hypothermia and hyperthermia
retinopathy of prematurity
intraventricular hemorrhage
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
patent ductus arteriosus
hyperbilirubinemia
ระบบทางเดินอาหารและภาวะโภชนาการ
necrotizing enterocolitis
malnutrition
ระบบภูมิต้านทาน
sepsis
ระบบเมตาบอลิซึมและต่อมไร้ท่อ
Hypoglycemia
Hypocalcemia
congenital hypothyroidism /
cretinism
บทบาทการพยาบาล
ห่อตัวทารกและให้อยู่ใต้ radiant warmer 36.5-37 c
ทำทางเดินหายใจให้โล่ง ให้นอนตะแคงหน้าไปด้านใดด้านหนึ่งหรือนอนศีรษะสูง
ดูแลให้ได้รับนมมารดา/นมผสมตามแผนการรักษา
ดูแลและแนะนำมารดาบิดาในการป้ องกันการติดเชื้อ ทำความสะอาดร่างกายทำความสะอาดสะดือ ป้ายตาด้วยยาปฏิชีวนะ
ดูแลให้วิตามินเค 1 มิลลิกรัมฉีดเข้ากล้ามเนื้อเพื่อป้องกันภาวะเลือดออกง่าย
ทารกแรกเกิดน้ำหนักมากกว่าอายุครรภ์ (Large for gestational age)
ความหมาย
ทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักตัวมากกว่า percentile ที่ 90 หรือมากกว่า 4,000 กรัมในทารกคลอดครบกำหนด
สาเหตุ
มักพบในมารดาที่มีระดับน้ำตาลในเลือดที่มีระดับสูงจากภาวะเบาหวาน
ผลกระทบต่อทารก
คลอดยาก
Hypoglycemia ภายหลังคลอดจากไม่ได้รับน้ำตาลผ่านทางรก
Hyperbilirubinemia จากภาวะเลือดข้น
ภาวะเลือดข้น (Polycythemia)
ภาวะแคลเซียม แมกนีเซียมในเลือดต่ำ
ความพิการของหัวใจแต่กำเนิด
การพยาบาล
ดูแลให้ทารกได้รับนมมารดาภายหลังคลอด หรืออาจให้นมผสม
ป้องกันภาวะที่มีอุณหภูมิร่างกายต่ำ ภาวะขาดออกซิเจน
ติดตามผลระดับน้ำตาลในเลือด
เฝ้าระวังอาการภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำอย่างใกล้ชิด
ทารกคลอดเกินกำหนด (Postterm baby)
ความหมาย
ทารกที่เกิดเมื่ออายุครรภ์มากกว่า 42 สัปดาห์
ลักษณะของทารก
มีภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
ทารกมีผิวหนังเหี่ยวย่น
ผมและเล็บจะยาวขึ้นเรื่อยๆ
ผิวหนังแห้งแตก เหี่ยวย่น และหลุดลอก
มีขี้เทาเคลือบติดตามตัว
รูปร่างผอม มีลักษณะขาดสารอาหาร เเต่ตื่นตัว
หน้าตาดูแก่กว่าเด็กทั่วไป
บทบาทการพยาบาล
ระยะรอคลอด
ให้ติดตาม EFM ทุก 1-2 hr เพื่อป้องกันการเกิดภาวะขาดออกซิเจนในครรภ์มารดา และติดตามผลการประเมินปริมาณน้ำคร่ำด้วย U/S เพื่อประเมินภาวะน้ำคร่ำน้อย
ระยะคลอด
ป้องกันการบาดเจ็บจากการคลอด จากทารกตัวใหญ่/การคลอดติดไหล่
ระยะหลังคลอด
ดูดสิ่งคัดหลั่งจากปากและจมูกให้ดี เพื่อป้องกันการสูดสำลักขี้เทา
ทารกที่มี APGAR score ปกติให้ดูแลเหมือนทารกแรกเกิดทั่วไป แต่ ทารกที่มี APGAR score ต่ำ ดูแลให้เหมาะสมตามระดับของภาวะพร่องออกซิเจนแรกคลอด