Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผลลัพธ์ทางสุขภาพและต้นทุน, น.ส.ปิยะวรรณ ชมภูพื้น เลขที่39 ห้อง1B…
ผลลัพธ์ทางสุขภาพและต้นทุน
สภาวะสุขภาพ
สภาพของการมีชีวิต ทางกายภาพ ทางจิตใจ และทสังคมที่สมบูรณ์ ไม่ใช้เพียงไม่มีโรคภัยหรือความเจ็บป่วยทางกายเท่านั้น
คำถามที่ต้องการคำตอบ
FFICACY
ดีจริงหรือไม่
FFECTIVENESS
ได้ผลในทางปฏิบัติหรือไม่
FFICIENCY
คุ้มกับต้นทุนหรือไม่
QUITY
เป็นธรมมหรือไม่
ประสิทธิภาพ (Efficiency)
เชิงเทคนิค (Technical efficiency)
ไม่ใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลือง
ความคุ้มค่า (Cost effectiveness)
สร้างผลผลิตโดยใช้ต้นทุนต่ำที่สุด
ในการจัดสรร (Allocative efficiency)
สร้างผลผลิตตามชนิดและปริมาณที่คนท้งัหลายให้คุณค่าสูงที่สุด
Keys to adding value
Save time
Make money
Improve outcomes
ผลลัพธ์ทางสุขภาพในการประเมินทาง
เศรษฐศาสตร
การประเมินระหว่าง ต้นทุน (costs)และ ผลลัพธ์ (benefits)
การวัดผลทางสุขภาพมีความสำคัญในการประเมินทางเศรษฐศาสตร์
อะไรถือว่าเป็นแหล่งข้อมูลที่ดีของการวัดผลทางสุขภาพ
ทำไมการวัดผลลัพธ์ด้านสุขภาพ
เพื่อคาดคะเนสุขภาพของแต่ละบุคคลและประชากร
เพื่อประเมินผลกระทบของการแทรกแซงสุขภาพ
เพื่อประเมินความครอบคลุมของด้านสังคมและเศรษฐกิจในการบริการของประเทศ
ประเภทของผลลัพธ์ทางคลินิก
ผลลัพธ์ที่เป็นตัวแทนหรือระยะกลาง
มีการกำหนดผลลัพธ์ขึ้นมาเพื่อเป็นตัวแทนผลลัพธ์สุขภาพ
ค่าที่ได้จากห้องปฏิบัติการ (Laboratory)
ค่าสัญญาณทางกายภาพ (Physical sign)
ผลลัพธ์สุดท้าย (Final outcomes)
ซึ่งเป็นสิ่งที่มีคุณค่าและมีความส้าคัญกับผู้ป่วย
ความรู้สึก (Feeling)
การปฏิบัติหน้าที่ (Function)
การรอดชีวิต (Survival)
ข้อดีและข้อเสีย
ผลที่เป็นตัวแทน
ข้อดี
มีค่าชัดเจน
สามารถวัดถึงค่าใช้ที่เกิดขึ้นในระยะสั้น
สามารถเห็นการเปลี่ยนแปลงระยะสั้น
ข้อเสีย
อาจส่งผลที่คลาดเคลื่อนในด้านนโยบาย
ไม่ได้บ่งชี้ถึงผลลัพธ์สุดท้าย
ผลสุดท้าย
ข้อเสีย
อาจจะนานเกินไปในการเฝ้าติดตามผู้ป่วย
ค่าใช้จ่ายสูง
ข้อดี
เป็นตัวแทนที่สะท้อนถึงการ
เปลี่ยนแปลงของผลลัพธ์สุดท้าย
มีความชัดเจนด้านนโยบาย
ครอบคลุมผลการรักษา
ต้นทุนแยกตามพฤติกรรมของต้นทุน
ต้นทุนคงที่ (Fixed cost: FC)
ต้นทุนรวม (Total cost: TC หรือ Full cost)
ต้นทุนคงที่ (Fixed cost: FC)
ต้นทุนเฉลี่ย (Average cost)
ประเภทของต้นทุน (Cost classification)
ต้นทุนที่จับต้องได้ (Tangible costs) vs.
ต้นทุนที่จับต้องไม่ได้ (Intangible costs)
ต้นทุนทางการแพทย์ (Medical costs) vs.
ต้นทุนส่วนที่ไม่ใช่การแพทย์ (Non-medical costs)
ต้นทุนค่าลงทุน (Capital costs) vs.
ต้นทุนดำเนินการ (Operational [Recurrent] costs)
ต้นทุนทางตรง (Direct costs) vs.
ต้นทุนทางอ้อม (Indirect costs)
ผลผลิต (OUTPUT)
บริการ OPD -จำนวนครั้งของบริการ
บริการ IPD-จำนวนวันนอนผู้ป่วยใน
การเรียนการสอน-จำนวนนักศึกษา
งานวิจัย-จำนวนงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่
ประเภทของการศึกษาต้นทุน
Cost Centre Approach
ขั้นตอน
หาต้นทุนรวมโดยตรงของแต่ละหน่วยงาน
หาวิธีกระจายต้นทุนที่เหมาะสม
จัดแบ่งหน่วยงานออกเป็นหน่วยงานต้นทุน
หาต้นทุนรวมทั้งหมด
หาต้นทุนต่อหน่วย
ต้นทุนทางตรง
ต้นทุนค่าวัสดุ(MATERIAL COST)
ต้นทุนค่าลงทุน(CAPITAL COST)
ต้นทุนค่าแรง(LABOUR COST)
Activity Approach
ขั้นตอนการศึกษาต้นทุน
วิเคราะห์และระบุหน่วยกิจกรรม
หาต้นทุนรวมโดยตรงของแต่ละหน่วยงาน
หาวิธีกระจายต้นทุนที่เหมาะสม
หาต้นทุนรวมทั้งหมดของแต่ละกิจกรรม
หาต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม
การค้านวณต้นทุนทางลัด
ประโยชน์
ท้าให้มีข้อมูลและสามารถน้าเสนอค่าใช้จ่ายตามหมวด
ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพ
ใช้ค้านวณอัตราคืนทุน
ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับผู้บริการ
ปัจจัย
แหล่งข้อมูลที่ต่างกัน
วิธีการวิเคราะห์ต่างกัน
มุมมองการวิเคราะห์ต่างกัน
การใช้ข้อมูลและเวลาต่างกัน
การกระจายต้นทุนต่างกัน
น.ส.ปิยะวรรณ ชมภูพื้น เลขที่39 ห้อง1B รหัส623601129