Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบสุขภาพกับเศรษฐศาสตร์สุขภาพ (Health system and Health Economics),…
ระบบสุขภาพกับเศรษฐศาสตร์สุขภาพ
(Health system and Health Economics)
แนวคิดเรื่องสุขภาพ
สาธารณสุข (Health)
สาธารณสุขศาสตร์ "ศาสตร์และศิลปะที่เกี่ยวข้องกับการดูแลและจัดการสุขภาพทั้งปวงของชุมชนโดยอิงตามการวิเคราะห์ด้านสุขภาพของประชากร"
สภาพของการมีชีวิตทางกายภาพ ทางจิตใจ และทางสังคมที่สมบูรณ์ ไม่ใช่เพียงไม่มีโรคภัยหรือความเจ็บป่วยทางกายเท่านั้น (WHO,1946)
แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข
เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข (Health economics)
สังคมศาสตร์ (Social science)
เศรษฐศาสตร์ (Economics)
วิทยาศาสตร์สุขภาพ (Health science)
สาธารณสุข (Health)
เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข (Health economics)
เกิดความขาดแคลน "Scarcity"
ทรัพยากรสุขภาพมีจำกัด
Resources are scarce
ความต้องการของมนุษย์ไม่จำกัด
Wants (needs) are "infinite"
การแก้ปัญหาการขาดแคลน คือ การตัดสินใจหาทางเลือก Choice is inevitable ใช้ทรัพยากรสุขภาพที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการจัดบริการสุขภาพ
ทางเลือกที่เกิดความเป็นธรรมในการจัดบริการสุขภาพ Equity
ทางเลือกที่เกิดประสิทธิภาพในการจัดบริการสุขภาพ Efficiency
องค์ประกอบ และคำถามเบื้องต้นในการศึกษาเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข
สุขภาพ (Health)
ระบบการให้บริการสาธารณสุข
(Health care system)
การดำเนินการทางด้านการรักษาพยาบาล
(Health care service)
ผลิตอะไร What?
ผลิตอย่างไร How?
ผลิตเพื่อใคร For whom?
ความเชื่อมโยงและพลวัตรเกี่ยวกับระบบสุขภาพ
ปัจเจกบุคคล
กรรมพันธุ์
พฤติกรรม
ความเชื่อ
จิตวิญญาณ
วิถีชีวิต
สภาพแวดล้อม
กายภาพ/ชีวภาพ
นโยบายสาธารณะ
เศรษฐกิจ/การเมือง
วัฒนธรรม/ศาสนา
ประชากร/การศึกษา
ความมั่นคง
การสื่อสาร/คมนาคม
เทคโนโลยี/องค์ความรู้
ระบบบริการสาธารณสุข
การแพทย์&สาธารณสุขกระแสหลัก
การแพทย์แผนไทย&พื้นบ้าน
บริการส่งเสริม&ป้องกัน&รักษา&ฟื้นฟู
การแพทย์ทางเลือกอื่นๆ
ระบบบริการสุขภาพ
(Type of health care system)
ระบบสุขภาพ (Health care system)
ระบบการจัดการสุขภาพทั้งมวลที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันส่งผลกระทบต่อสุขภาพและปัจจัยต่างที่เกี่ยวกับสุขภาพ ได้แก่ ปัจจัยด้านบุคคล สภาพแวดล้อมทางกายภาพชีวภาพ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การศึกษา กฎหมาย ศาสนา วัฒนธรรมประเพณี วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นต้น รวมทั้งปัจจัยด้านระบบบริการสุขภาพด้วย
จากการวิเคราะห์ระบบบริการสุขภาพใน 165 ประเทศพบว่าระบบบริการสุขภาพแบ่งเป็น 4 ประเภท
ระบบสุขภาพแบบสังคมนิยม รัฐเข้าไปจัดการสุขภาพอย่างสิ้นเชิงและไม่อนุญาตให้มีกลไกการตลาดใด ๆ ประชาชนทุกคนได้รับบริการจากรัฐ
ระบบสุขภาพแบบครอบคลุมและเท่าเทียมกัน รัฐได้มีบทบาทในระบบบริการสุขภาพมากเพื่อให้ประชาชนได้รับบริการสุขภาพอย่างครอบคลุม
ระบบสุขภาพแบบสวัสดิการ เป็นระบบบริการสาธารณสุขที่รัฐได้เข้ามาแทรกแซงกลไกการตลาดในการจัดบริการสุขภาพหลาย ๆ ทาง
ระบบสุขภาพแบบเสรีนิยม มีการจัดบริการสุขภาพในรูปแบบเอกชนที่แข่งขันภายใต้ตลาดเสรี รัฐมีส่วนเข้าไปแทรกแซงกลไกการตลาดน้อย
องค์ประกอบด้านการจัดบริการสุขภาพ
(Dliver services component)
Excellence Center Tertiary
Universities horspital
General,Regional
Province
Secondary Care
Community hospital
Districts
Primary Care
Health Center
Sub - Districts
PHC
Village
Self Care
Family
ข้อมูลพื้นฐานกระทรวงสาธารณสุข
ระดับศูนย์เชี่ยวชาญ
โรงพยาบาลศูนย์ 33 แห่ง
Advance Service/
Care Training Center
ระดับตติยภูมิ
โรงพยาบาลทั่วไป 83 แห่ง
Complicated cases
Inpatient care
ระดับทุติยภูมิ
โรงพยาบาลชุมชน 780 แห่ง
Acute care
Chronic care
Intermediate care
ระดับปฐมภูมิ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล
(รพ.สต.) 9,781 แห่ง
Prevention+Promotion
Chronic care
Rehabilitation
Palliative care
Long Term care
การเข้าถึงบริการ (Accessibility)
ความเพียงพอของบริการที่มีอยู่ (Availability) ความสัมพันธ์ระหว่างบริการที่มีอยู่กับชนิดของผู้ใช้บริการ
การเข้าถึงแหล่งบริการ (Accessibility) ความสัมพันธ์ระหว่างสถานที่ตั้งของแหล่งบริการกับความสามรถที่ผู้บริการจะไปถึงแหล่ง
ความสะดวกและสิ่งอำนวยความสะดวกของแหล่งบริการ (Accommodation) ความสัมพันธ์ของแหล่งบริการกับการยอมรับของผู้ใช้บริการว่าสะดวก
ความสามารถในการจ่าย (Affordability) ความสัมพันธ์ของค่าใช้จ่ายของบริการกับรายได้ของผู้รับบริการ
การยอมรับคุณภาพ (Acceptability) ความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติของผู้รับบริการกับผู้ใช้บริการ
ความสัมพันธ์ระหว่างระบบสุขภาพกับเศรษฐกิจ
สถานภาพทางด้านสุขภาพอนามัย
รายจ่ายเพื่อสุขภาพ
การพัฒนาทางเศรษฐกิจ
ลักษณะที่ 1 ผลกระทบของเศรษฐกิจที่มีต่อสุขภาพ เช่น การว่างงาน ในสภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ
ลักษณะที่ 2 ผลของสุขภาพที่มีต่อเศรษฐกิจของประเทศ เช่น ด้านการควบคุมโรค โรคระบาด และการสูญเสียประสิทธิภาพในการทำงาน
เศรษฐศาสตร์สาธารณสุขเพื่อการจัดบริการสุขภาพ
Health promotion
Treatment
Rehabilitation
Disease control and prevention
การผลิตสินค้าและบริการสาธารณสุขโดยภาครัฐ
การผลิตสินค้าและบริการสุขภาพโยภาครัฐ มีจุดหมายหลักไม่ใช่การแสวงหากำไรสูงสุด แต่เพื่อการกระจายบริการให้ทั่วถึงที่สุด และเพื่อยกระดับสถานะสุขภาพอนามัยของประชาชนให้ได้ผลสุงสุด
นโยบายการคลัง มีการกำหนดนโยบายที่สนองและสอดคล้องกับปัญหาสุขภาพ และจะนำไปสู่การบรรลุเป้าหมายหลัก
การกระจายบริการให้ทั่วถึงที่สุด ครอบคลุมถึงการจัดให้มีบริการในที่ต่างๆอย่างทั่วถึง
ยกระดับสุขภาพอนามัยของประชาชน
แนวคิดในการจัดสรรทรัพยากรสุขภาพ
พิจารณาจาก Need
ความจำเป็น (Need)
ลักษณะทางประชากร
•จำนวนประชากร (Population No)
•กลุ่มอายุและเพศ (Age and Sex group)
ลักษณะเศรษฐกิจและสังคม
•รายได้ (Incomes)
•การศึกษา (Education)
•อาชีพ (Occupation)
•พื้นที่อยู่อาศัย (Area)
ลักษณะด้านสุขภาพ
•การเจ็บป่วย (Morbidity)
•การตาย (Mortality)
• ความรุนแรงของโรค (Disease severity)
อุปสงค์ (Demand)
การใช้บริการ (Utilisation)
อุปทาน (Supply)
บทบาทเจ้าหน้าที่กับเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข
เพื่อการจัดบริการสุขภาพ
มีทักษะด้านการบริหารจัดการโดยเฉพาะการบริหารต้นทุนในสถานบริการสุขภาพ
เข้าใจพฤติกรรมการใช้บริการสุขภาพทั้งทางด้านอุปสงค์และอุปทานสุขภาพ
ช่วยในการจัดการด้านกำลังคนด้านสุขภาพ
ทำให้เข้าใจพฤติกรรมผู้บริโภคทางด้านสาธารณสุข ในการตัดสินใจในการเลือกรับบริการรักษา บริโภคยา หรือผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ใช้ข้อมูลทางเศรษฐศาสตร์เพื่อใช้ในการเลือกดูแลสุขภาพ
เข้าใจในแผนงบประมาณและนำมากำหนดนโยบายสุขภาพ
ประเภทการศึกษาเศรษฐศาสตร์ในระบบสุขภาพ
เศรษฐศาสตร์สุขภาพระดับมหาภาค
(Macroeconomic Study)
เป็นการศึกษาเกี่ยวกับระบบสุขภาพโดยรวม
เศรษฐศาสตร์สุขภาพระดับจุลภาค (Microeconomic study)
เป็นการศึกษาเกี่ยวกับระบบสุขภาพระดับย่อย
พฤติกรรมของผู้ให้บริการ
พฤติกรรมของในตลาดสุขภาพ
พฤติกรรมของผู้รับบริการ
ผู้วางแผน (Planner)
ผู้กำหนดนโยบาย (Policy maker)
การประยุกต์ใช้
•การกำหนดโครงการ
• การจัดสรรทรัพยากร
การบริหารจัดการระบบ (System management)
Health economics
ผู้ให้บริการ
(แพทย์ ทัตนแพทย์ พยาบาลสาธารณสุข)
การประยุกต์ใช้
•การวินิจฉัยโรค
•การส่งเสริมสุขภาพ
•การบำบัดรักษา
•การควบคุม ป้องกัน และการฟื้นฟูสภาพ
การบริหารจัดการกับผู้รับบริการ (Patient management)
Clinical economics
ประสิทธิภาพ
Does it work?
ความปลอดภัย (Safety)
Side effect? Acceptable?
สัมฤทธิผล (Efficacy)
Can it work?
การวิจัยด้านเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข
(Type of health economics study)
ความเป็นธรรมและความเท่าเทียมกันในด้านสุขภาพ
ต้นทุนการบริการสาธารณสุข
การกระจายทรัพยากรและการใช้เทคโนโลยี
ประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากร
ประสิทธิภาพของการรักษาพยาบาล
การวิเคราะห์และการประเมินการบริการสาธารณสุข
นางสาวดวงฤทัย ชนะวงศ์
รหัสนักศึกษา 623601026
ห้อง 1A เลขที่ 26