Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
nursing process, กลุ่ม 2 เลขที่ 57,63,64,88,99 - Coggle Diagram
nursing process
Implementation
การปฏิบัติการพยาบาล
ปัญหาที่ 3
แนะนำ ให้ทานยาแก้ปวดเพื่อบรรเทาอาการปวด
แนะนำให้ใช้เจลเย็นห่อผ้าประคบบริเวณที่ปวดครั้งละ 15-20 นาทีเพื่อลดอาการบวมและปวด
ประเมินความเจ็บปวดจาก Score
โดยมีระดับดังนี้
คะแนน 0 คะแนนไม่มีอาการปวด
คะแนน 1-3 คะแนนปวดเล็กน้อยพอทนได้
คะแนน 4-6 คะแนนปวดปานกลางขยับแล้วปวด
คะแนน 7-11 คะแนนปวดมากที่สุดทนไม่ได้
แนะนำท่านอนให้แก่คนไข้เพื่อให้กระทบอาการปวดและตึงแผลน้อยที่สุด
ปัญหาที่ 4
อธิบายถึงการทำกายภาพบำบัดบริเวณไรเพื่อให้เห็นถึงความสำคัญและปัญหาของภาวะไหล่ติด
แนะนำท่ากายภาพบำบัดแก่คนไข้ เช่น การแกว่งแขนเป็นวงกลมถ้าดึงเชือกขึ้นลงเป็นต้นโดยเริ่มจากการค่อยๆยกไหลไปเรื่อยเมื่อปวดก็หยุดตรงระดับนั้นแล้วค่อยเพิ่มขึ้นเรื่อยๆในวันต่อๆไปแบบไม่หักโหมเพื่อให้คนไข้ได้ปฏิบัติอย่างถูกต้องและป้องกันปัญหาแผลอักเสบจากการทำกายภาพบำบัด
ประเมินอาการบวมของแขนโดยการวัดรอบแขนข้างที่ทำการผ่าตัดเพื่อประเมินความบวมของแขน
ลองให้ผู้ป่วยทำกิจวัตรประจำวันที่เบาๆก่อนเช่นการหวีผมเป็นต้นเพื่อประเมินผลอาการไหล่ติด
ประมาณองศาการยกของแขนเพื่อประเมินการเคลื่อนไหวของแขนและหัวไหล่
ปัญหาที่ 2
ประเมินลักษณะท่าทางของผู้ป่วยว่ามีอาการเหนื่อยง่ายอ่อนเพลียตัวซีดวิงเวียนศีรษะมือเท้าเย็นหายใจลำบากขณะออกแรงหรือไม่
แนะนำอาหารและวิตามินเสริมที่มีส่วนช่วยในการสร้างเม็ดเลือด เช่น Vitamin B12 ที่อยู่ในเนื้อแดงผักใบเขียวเป็นต้น
ปัญหาที่ 5
ให้การพยาบาลที่ส่งเสริมในการปรับตัวของคนไข้เพื่อให้คนไข้สามารถปรับการใช้ชีวิตให้ดำเนินได้อย่างปกติสุขที่สุด
เปิดโอกาส ให้คนไข้ได้ระบายความรู้สึกที่มีต่อตนเองเพื่อให้คนไข้สบายใจและได้เห็นคุณค่าในตัวเอง
อธิบายเกี่ยวกับการเปลี่ยนต่างๆที่จะเกิดขึ้นหลังการทำเคมีบำบัด
คลื่นไส้ อาเจียน
จะเกิดขึ้นหลังจากได้รับยา 2-3 ชั่วโมงหรือหลังจากรับยา
แพทย์มักให้ยาป้องกันการอาเจียนก่อนให้ยาเคมีบำบัด
สามารถบรรเทาอาการได้
เช่น
การทานอาหารอ่อนๆ ทานน้อยแต่บ่อยมื้อ
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีกลิ่นฉุน
พักผ่อนมากๆ
ผิวหนังและเล็บเปลี่ยนสี
ตัดเล็บให้สั้นและสะอาดอยู่เสมอ
แนะนำให้ทาโลชั่น หลีกเลี่ยงแสงแดด ทาครีมกันแดด
จะเกิดขึ้นชั่วคราวเมื่อหยุดยาก็จะหายไป
อยู่ในอากาศที่เย็นสบาย อากาศถ่ายเท
ผมร่วง
ผมที่ร่วงจะเกิดขึ้นใหม่เมื่อสิ้นสุดการทำเคมีบำบัดประมาณ 2-3 เดือน
แนะนำเกี่ยวกับการทำผมเพื่อลดความกังวล
จะเกิดขึ้น 2 อาทิตย์หลังการทำเคมีบำบัดครั้งแรก
ให้กำลังใจและคำชมแก่คนไข้เมื่อคนไข้สามารถปรับตัวได้ดีเพื่อให้คนไข้สบายใจและมีกำลังใจ
ประเมินการรับรู้ของผู้ป่วยต่อการเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์และผลข้างเคียงของตนเอง
ปัญหาที่ 1
แนะนำดูแลแผลให้แห้งเพื่อป้องกันไม่ให้แผลอับชื้นโดยการใช้การเช็ดตัวแทนการอาบน้ำเพื่อป้องกันแผลติดเชื้อ
แนะนำโภชนาการให้แก่ผู้ป่วย
อาหารที่อุดมไปด้วยโปรตีน เช่น ไก่ ไข่ไก่ เนื้อปลา
อาหารที่อุดมไปด้วยวิตามินเอ เช่น ผักใบเขียว แครอท แตงโม มะละกอ
อาหาร อาหารที่อุดมไปด้วยวิตามินซี เช่น มะนาว ส้ม สับปะรด
อาหารที่อุดมไปด้วยธาตุเหล็ก เช่น ผักใบเขียว
อาหารที่อุดมไปด้วยสังกะสีเช่น เนื้อหมู เนื้อไก่ ถั่ว และผลิตภัณฑ์จากนมเพื่อช่วยให้แผลฟื้นฟูได้รวดเร็วขึ้นและลดการติดเชื้อของแผล
แนะนำการจัดยาให้แก่ผู้ป่วยตามแผนการรักษาของแพทย์
แนะนำโภชนาการให้แก่ครอบครัวผู้ป่วยเพื่อช่วยให้ครอบครัวได้เข้าใจการทำอาหารของผู้ป่วยและช่วยจัดหาให้แก่ผู้ป่วย
แนะนำให้ทำความสะอาดบริเวณรอบแผลให้สะอาดด้วยแอลกอฮอล์วันละ 1 ครั้ง
ปัญหาที่ 6
ร่วมปรึกษากับผู้ป่วยในการปรับปรุงภาพลักษณ์อื่นๆให้ดีขึ้น เน้นความเป็นไปได้ตามสภาพความเป็นจริงเพื่อเพิ่มความมั่นใจให้แก่ผู้ป่วย
อธิบายให้ครอบครัวของผู้ป่วยถึงปัญหาของผู้ป่วย ครอบครัวควรมีส่วนร่วมในการให้กำลังใจและปลอบโยนคนไข้ เพื่อให้คนไข้ได้รับการยอมรับและกำลังใจจากครอบครัว
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจและยอมรับถึงความจำเป็นของการผ่าตัดเต้านมและวิธีการต่างๆที่สามารถทำได้หลังผ่าตัด เพื่อคลายความกังวล
ให้กำลังใจและคำชมแก่คนไข้ เมื่อคนไข้สามารถปรับตัวได้ดีเพื่อเสริมสร้างความมั่นใจให้แก่คนไข้
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึกเพื่อสังเกตลักษณะและการเปลี่ยนแปลงของอารมณ์
Planning
การวางแผนพยาบาล
ปัญหาที่ 5
ผู้ป่วยลดความกังวลเกี่ยวกับการให้เคมีบำบัด
เกณฑ์
ไม่มีอาการหรือการแสดงทางจิตใจที่มีปฏิกิริยาต่อความเครียด
ปัญหาที่ 6
ผู้ป่วยมีความมั่นใจเพิ่มขึ้น
เกณฑ์
มีสีหน้าสดใส
เดินสง่าผ่าเผย มั่นใจในการสวมเสื้อผ้า
ปัญหาที่ 1
ผู้ป่วยไม่เกิดแผลติดเชื้อ
เกณฑ์
แผลผ่าตัดแห้งดี
ไม่มีหนอง
ปัญหาที่ 4
ผู้ป่วยปฏิบัติกิจวัตรประจำวันด้วยตนเองได้มากขึ้น ตึงบริเวณแผลน้อยลง
เกณฑ์
ทำกิจวัตรประจำวันด้วยตนเองได้มากขึ้น
อาการตึงบริเวณแขนลดลง
ปัญหาที่ 2
เกณฑ์
Hematocrit อยู่ในระดับปกติ
ไม่เกิดภาวะเนื้อเยื่อในร่างกายพร่องออกซิเจน
ปัญหาที่ 3
ผู้ป่วยไม่เจ็บแผลสามารถพักผ่อนไม่เพียงพอ
เกณฑ์
ผู้ป่วยไม่เจ็บแผล มีสีหน้าแจ่มใส
ไม่อ่อนเพลีย ไม่ตื่นขึ้นมากลางดึก
Evaluation
การประเมินผลการพยาบาล
ปัญหาที่ 1
บรรลุเกณฑ์การประเมินผลทั้งหมด
แผลผ่าตัดของผู้ป่วยไม่มีภาวะติดเชื้อ
แผลแห้งสนิท
ไม่มีหนอง
ปัญหาที่ 3
บรรลุเกณฑ์การประเมินผลทั้งหมด
ไม่อ่อนเพลีย
ไม่ตื่นขึ้นมากลางดึก
ผู้ป่วยไม่เจ็บแผล มีสีหน้าแจ่มใส
ปัญหาที่ 2
บรรลุเกณฑ์การประเมินผลทั้งหมด
ระดับ Hematocrit อยู่ในระดับปกติดี
เนื้อเยื่อในร่างการไม่เกิดภาวะพร่องออกซิเจน
ปัญหาที่ 5
บรรลุเกณฑ์การประเมินผลทั้งหมด
ผู้ป่วยได้ทำความเข้าใจถึงผลค้างเขียง
ของการทำเคมีบำบัด
ผู้ป่วยมีการปรับตัวเพื่อให้พร้อมทำเคมีบำบัด
ผู้ป่วยไม่มีอาการแสดงความกังวล
ออกมาทางสีหน้าและท่าทาง
ปัญหาที่ 4
บรรลุเกณฑ์การประเมินผลบางส่วน
ผู้ป่วยทํากิจวัตรประจําวันได้มากขึ้น
ผู้ป่วยยังตึงบริเวณแผลผ่าตัดอยู่เล็กน้อย
ปัญหาที่ 6
บรรลุเกณฑ์การประเมินผลทั้งหมด
ผู้ป่วยมั่นใจในการสวมการเลือกเสื้อผ้าที่เหมาะ
ผู้ป่วยมีสีหน้าสดชื่น
คนรอบข้างผู้ป่วยให้กำลังใจ
Nursing Diagnosis
การวินิจฉัยการพยาบาล
ปัญหาที่ 3
การวินิจฉัยการพยาบาล
พักผ่อนไม่เพียงพอเนื่องจากมีอาการปวดไหล่และเจ็บแผลผ่าตัด
ปัญหาที่ 4
การวินิจฉัยการพยาบาล
ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ไม่สะดวกเนื่องจากมีอาการตึงบริเวณบาดแผล
ปัญหาที่ 2
การวินิจฉัยการพยาบาล
เสี่ยงเกิดภาวะเนื้อเยื่อในร่างกายพร่องออกซิเจนเนื่องจากภาวะซีด
ปัญหาที่ 5
การวินิจฉัยการพยาบาล
ผู้ป่วยอาจวิตกกังวลได้มากทำให้จินตนาการเกี่ยวกับสภาพตนเองเมื่อรักษาด้วยเคมีบำบัด
ปัญหาที่ 1
การวินิจฉัยการพยาบาล
มีโอกาสเกิดการติดเชื้อที่บาดแผลเนื่องจากแผลผ่าตัดยังไม่ปิดสนิท
ปัญหาที่ 6
การวินิจฉัยการพยาบาล
ผู้ป่วยมีความมั่นใจในตัวเองน้อยลงเนื่องจากภาพลักษณ์ที่ไม่เหมือนเดิมหลังผ่าตัด
Assessment
การรวบรวมข้อมูล
11แบบแผนกอร์ดอน
แบบแผนที่ 1
การรับรู้และการดูแลสุขภาพ ปกติมีความรู้ในการดูแลสุขภาพ
แบบแผนที่ 2
อาหารและการเผาผลาญสารอาหาร ปกติเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสมกับอาการป่วย
แบบแผนที่ 3
การขับถ่าย ปกติ
แบบแผนที่ 4
กิจกรรมและการออกกำลังกาย ผิดปกติเนื่องจากมีปัญหา
แบบแผนที่ 5
การนอนหลับพักผ่อน ผิดปกติเนื่องจากตื่นระหว่างนอนเพราะอาการปวดแขน
แบบแผนที่ 6
สติปัญญาและการรับรู้ ปกติสื่อสารได้ดีทันทีที่สอบถาม
แบบแผนที่ 7
การรับรู้ตนเองและอัตมโนทัศน์ ปกติมีกังวลเล็กน้อยเนื่องจากภาพลักษณ์ที่เปลี่ยนไป
แบบแผนที่ 8
บทบาทและสัมพันธภาพ ปกติ
แบบแผนที่ 9
เพศและการเจริญพันธุ์ ปกติ
แบบแผนที่ 10
การปรับตัวและความทนทานกับความเครียด ปกติ มีการวางแผนรับมือเกี่ยวกับการป่วย
แบบแผนที่ 11
คุณค่าและความเชื่อถือ ปกติ
การวางแผนการพยาบาล
ปัญหาที่ 1
Subjective Data
ผู้ป่วยบอกว่าเพิ่งผ่าตัดได้ไม่นานมีสารคัดหลั่งติดออกมาตอนเปลี่ยนแผล
ปัญหาที่ 2
objective Data
ผลตรวจบอกว่าผู้ป่วยHematocrit คิดอยู่ที่ 20
ปัญหาที่ 3
Subjective Data
ผู้ป่วยบอกว่าตื่นกลางดึกเนื่องจากมีอาการปวดไหล่และเจ็บแผล
ปัญหาที่ 4
Subjective Data
ผู้ป่วยดำเนินกิจวัตรประจำวันไม่สะดวกต้องมีคนคอยช่วยในบางเรื่อง
ปัญหาที่ 5
Subjective Data
ผู้ป่วยบอกว่ากังวลผลข้างเคียงจากการให้เคมีบำบัดเรื่องคลื่นไส้อาเจียน
ปัญหาที่ 6
Subjective Data
ผู้ป่วยบอกว่าเสียความมั่นใจเรื่องภาพลักษณ์หน้าอกที่ผ่าตัด
objective Data
หน้าแสดงออกว่าเศร้าในบางครั้ง
กลุ่ม 2
เลขที่ 57,63,64,88,99