Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เทคโนโลยีและยาที่ใช้บ่อยใน ICU - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เทคโนโลยีและยาที่ใช้บ่อยใน ICU
ข้อบ่งชี้เครื่องช่วยหายใจ
ภาวะพร่องออกซิเจน : Oxygenation failure
ได้รับอุบัติเหตุ
เสียเลือด
มีการติดเชื้อ
ความล้มเหลวการระบายอากาศ
ผู้ป่วยซึมมาก
โรคหืด
โรคถุงลมโป่งพอง
กล้ามเนื้อกระบังคมไม่มีแรง : Diaphragm fatigue
ได้รบยาที่กดศูนย์การหายใจ
ความผิดปกติระบบประสาทส่วนกลาง/ปลาย
Guilain-Barre syndrome
ระบบไหลเวียนโลหิตร่างกายผิดปกติ
ภาวะซีด
ชนิดเครื่องช่วยหายใจ
Non-invasive positive ventilation (NPPV)
แก้ไขภาวะกรดจากการหายใจ
การดูแลขับเสมหะความดันบวกไม่ใส่ท่อช่วยหายใจลำบาก
ท้องอืดง่าย
ไม่เหมาะผู้ป่วยพยาธิสภาพปอดรุนแรง
แบ่งเป็น 2 แบบ
Continuous positive airway pressure (CPAP)
Bilevel Positive Airway Pressure (ฺBiPAP)
เหมาะกับผู้ป่วยหายใจล้มเหลวแบบเรื้อรัง ใช้ที่บ้าน / กลางคืน
Invasive positive ventilation : IPPV
อัดอากาศเข้าปอดผ่าน endotracheal tube
การแบ่งประเภทเครื่องช่วยหายใจ : Mode of ventilator
Control mandatory ventilation CMVหรือ Assist/control (A/C)
การหายใจทุกครั้งถูกกำหนดดด้วยเครื่องช่วยหายใจทั้งหมด
EX.ตั้งอัตราการหายใจ 14 ครั้ง หายใจเอง 22 ครั้ง 8ครั้งที่หายใจเองเครื่องไม่มีการช่วย
ผู้ป่วยได้รับยาสลบ
Synchronized intermittent mandatory ventilator (SIMV)
ช่วยหายใจที่มีทั้งหายใจเองและช่วยหายใจ
เป็นการเตรียมหย่าเครื่องช่วยหายใจ
Spontaneous ventilation
หายใจเองกำหนดเวลา/ปริมาตรอากาศที่หายใจเข้าด้วยตนเองทั้งหมด
Continuous positive airway pressure(CPAP)
ให้แรดันบวก (PEEP)
ระดับเดียวกันทั้งหายใจเข้าและหายใจออก
ผู้ป่วย Obstructive sleep apnea
Pressure Support ventilator (PSV)
เครื่องช่วยผู้ป่วยในขระที่ผู้ป่วยหายใจได้เอง
การหายใจเป็นตัวกำหนด Tidal volume , RR
ใช้ในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ภาวะแทรกซ้อน
ผลต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด
เลือดดำไหลกลับหัวใจลดลง
แรงดันในช่องอกสูงขึ้นกว่าปกติ เลือดดำจากอวัยวะส่วนล่างร่างกายกลับหัวใจลดลง
การบาดเจ็บของปอดจากการใช้ปริมาตร การหายใจสูงเกินไป
ผู้ป่วยที่มีโรคปอดอยู่เดิม
ความดันคงค้างในถุงลมปอดมากกว่า 35 CM น้ำ
ถุงลมถ่างขยายมากเกินไป
เยื่อบุ ถุงลม/หลอดเลือดฝอยสูญเสียหน้าที่ ปอดบวมน้ำเฉียบพลัน
การป้องกัน
ตั้งความดันสูงสุดในถุงลมปอดไม่เกิน 35 CM/น้ำ
ตั้งค่า tidal volume ที่เหมาะสม
ภาวะถุงลมปอดแตก
ลมรั่วจากถุงลมจากการใช้เครื่องช่วยหายใจชนิดความดันบวก
การบาดเจ็บทางเดินหายใจ
การบาดเจ็บกล่องเสียง
ภาวะปอดแฟบ
การตั้งปริมาตรการหายใจต่ำ และไม่มีการตั้งถอนหายใจ
ควรช่วยหายใจด้วยมืออาจทำหลังดูุดเสมหะ
การเกิดปอดอักเสบ
ผู้ป่วยใช้เครื่องนานเกิน 48 ชม.
จากการสำลักเชื้อจุลชีพจากปาก/ลำคอ (น้ำลาย)
อาหารจากเชื้อเจริญในกระเพาะอาหาร
ป้องกัน
ล้างมือก่อนและหลังทุกครั้งที่มีการดูดเสมหะ
สังเกตลักษณะสี กลิ่นเสมหะ
ฟังเสียงปอด ติดตามภาวะไข้ ผล CXR , เก็บเสมหะเพาะเชื้อ
ภาวะพิษจากออกซิเจน
ได้ความเข้มข้นออกซิเจนมากกว่า 0.6 นาน 24-48 ชม.ขึ้นไป/1.0 นาน 24 ชม.
เกิดการทำลายเนื้อปอด ไอ แน่นอก หอบเหนื่อย
ระบบทางเดินอาหาร
แผลหรือเลือดออกในทางเดินอาหาร
การได้รับยาสลบประสาท/ยาแก้ปวด
ภาวะโภชนาการ
ถูกงดน้ำงดอาหารจากอาการไม่คงที่
ร่างกายต้องการกลูโคสที่สะสมที่ตับมาใช้