Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
A Beautiful Mind (ครั้งที่2), นางสาวอัญชนา พรหมจันทร์ เลขที่ 95 …
A Beautiful Mind (ครั้งที่2)
ผลกระทบอะไรบ้างทีเกิดกับผู้ปวยรายนี้
ไม่สามารถทำงานได้อย่างปกติ
ไม่มีช่วงเวลาที่ดีกับบุคคลในครอบครัว
ไม่มีสัมพันธภาพกับผู่อื่น
การดำเนินกิจวัตรประจำวันบกพร่อง
อาจจะทำร้ายตนเองและผู้อื่นทำให้เกิดการบาดเจ็บหรือเสียชีวิต
กฎหมายสุขภาพจิต พรบสุขภาพจิต ทีเกียวข้อง
มาตราที่ 22
: บุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตในกรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้เป็นบุคคลที่ต้องได้รับการรักษา 1.มีภาวะอันตราย 2. มีความจำเป็นต้องได้รับการบำบัดรักษา
มาตราที่24
: เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่หรือตำรวจใต้รับแจ้งหรือพบบุคคลซึ่งมีพฤติกรรมที่น่าเชื่อว่าบุคคลนั้นมีความผิดปกติทางจิตให้ดำเนินการนำตัวผู้นั้นไปยังสถานพยาบาลเพื่อรับการตรวจวินิจฉัยโดยการนำตัวไปสถานพยาบาลนั้นจะไม่สามารถผูกมัดร่างกายของบุคคลนั้นได้เว้น แต่ความจำเป็นเพื่อป้องกันการเกิดอัตราต่อบุคคลนั้นเองบุคคลอื่นหรือทรัพย์สินของผู้อื่น
มาตราที่17
: การบำบัดรักษาโดยการผูกมัดร่างกาย การกักบริเวณหรือแยกผู้ป่วยจะกระทำไม่ได้เว้นแต่เป็นความจำเป็นเพื่อป้องกันการเกิดอันตรายต่อผู้ป่วยเอง บุคคลอื่นหรือทรัพย์สินของผู้อื่นโดยต้องอยู่ภายใต้การดูแลอย่างใกล้ชิดของผู้บำบัดรักษาตามมาตรฐานวิชาชีพ
ผู้ป่วยรายนี้สมควรได้รับการรักษาที่โรงพยาบาลหรือควรได้รับการรักษาที่บ้านโดยคนในครอบครัว
ควรได้รับรักษาที่โรงพยาบาล
ผู้ป่วยมีอาการรุนแรง
ผู้ป่วยทำร้ายผู้อื่นและทำร้ายตนเอง
ไม่สามารถจัดการกับความต้องการพื้นฐานของตนเอง
ผลข้างเคียงของการรักษา
การรักษาด้วยยา
ง่วงนอน
น้ำหนักตัวเพิ่มมากขึ้น
ความดันโลหิตต่ำเมื่อเปลี่ยนท่า
การรักษาด้วยไฟฟ้า
ปวดเมื่อยจากการเกร็งกล้ามเนื้อ
ไม่สบายตัว
ปวดศีรษะ
สับสน
สูญเสียความทรงจำชั่วคราว
ผลข้างเคียงที่รุนแรง
กระดูกหัก
ข้อเคลื่อน
อาจเสียชีวิต
ที่มา : รัตนา สายพานิชย์. Electroconvulsive Therapy(ECT). สืบค้นเมื่อ 25 มิ.ย. 2563.
https://med.mahidol.ac.th/ramamental/sites/default/files/public/pdf/ECT%20(mechanism%20and%20procedure).pdf
อาการและอาการแสดง
หวาดระแวง
คิดว่าจะมีคนมาทำร้าย
มีคนสะกดรอยตาม
ประสาทหลอน
หูแว่ว ได้ยินเสียงคนสั่งให้ทำตาม
คิดว่ามีคนอยู่ด้วยตลอดเวลา
คิดว่าจะมีคนมาทำร้าย
ควบคุมตัวเองไม่ได้
ไม่ชอบเข้าสังคม
ไม่มีเพื่อน
ชอบอยู่คนเดียว
ด้านพฤติกรรม
เดินหลังค่อม
มองซ้าย ขวา ตลอดเวลา
กระสับกระส่าย เดินไปเดินมา
พยายามโต้ตอบกับใครบางคน
เฉยเมย ไร้ความรู้สึก
อารมณ์แปรปรวน
ความคิด
ความคิดหลงผิดกับภาพหลอนต่างกันอย่างไร
ความคิดหลงผิด Delusion
เป็นความผิดปกติทางความคิด ทำให้ผู้ป่วยมีความเชื่อและความคิดในเรื่องต่างๆ ที่ไม่เป็นไปตามหลักความจริง และไม่สามารถลบความเชื่อนั้นออกไปจากความทรงจำได้
ภาพหลอน Hallucination
เป็นความผิดปกติด้านการรับรู้ เห็นภาพหลอน อาจเห็นภาพหรือเหตุการณ์ขึ้นมาเองโดยที่ไม่ได้เกิดขึ้นจริง อาจเห็นเป็นวัตถุ รูปภาพ ผู้คน หรือแสง ตัวอย่างเช่น เห็นแมลงไต่อยู่ที่มือหรือใบหน้าผู้อื่น หรือเห็นแสงสว่างที่คนอื่นไม่เห็นหรือไม่ได้เกิดขึ้นจริง
จารุรินทร์ ปิตานุพงศ์. การจำแนกโรค อาการวิทยา และการวินิจฉัยโรคทางจิตเวช(Introduction to clinical psychiatry).สืบค้นเมื่อ 25 มิ.ย. 2563. จาก
https://meded.psu.ac.th/binla/class04/388_421/introduction_to_clinical_psychiatry/index2.html
นิตยา ศรีจำนง. การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติทางด้านความคิดและการรับรู้:Delusion, Hallucination, Illusion, Paraniod.[เว็บบล็อก]. สืบค้นจาก
http://www.elnurse.ssru.ac.th/nitaya_si/pluginfile.php/18/block_html/content/
โรคที่คิดว่าน่าจะเป็น
โรคจิตเภท(Schizophrenia)
ความหมาย
โรคที่มีความผิดปกติของความคิด อารมณ์ การรับรู้ และพฤติกรรมเป็นเวลาติดต่แกันอย่างน้อย6 เดือนโดยไม่มีสาเหตุจากโรคทางกาย ยา หรือสารเสพติด และส่งผลกระทบต่อหน้าที่การงาน ด้านสังคมหรือสุขอนามัยของผู้ป่วย
สาเหตุ
ปัจจัยด้านพันธุกรรม (Genetic factors) สามารถถ่ายทอดผ่านกรรมพันธุได้
ปัจจัยด้านชีวเคมีของสมอง (Biological factors) ผู้ป่วยจิตเภท มีความสัมพันธ์กับ dopamine ในสมอง
ความผิดปกติของ catecholamine metabolism โดยมี hyperactivity ของdopamine เป็นสาเหตุสำคัญประการหนึ่งของโรคจิตเภท
มีปริมาณ dopamine ที่ synapse ในสมองมากเกินไป
ปัจจัยด้านจิตใจ (Psychological factors)
เป็นความผิดปกติจากพัฒนาการทางบุคคลิกภาพของบุคคลในวัยเด็กโดยเฉพาะในขวบปีแรก
มีผลใหเ้กิดพยาธิสภาพส่วนที่ทำหน้าที่ในการปรับตัว การควบคุมพฤติกรรม และการมีสัมพันธภาพกับผู้อื่น
ปัจจัยด้านสังคมและวัฒนธรรม (Sociocultural factors)
บุคคลที่ต้องเผชิญหน้ากับสภาวะกดดันและเครียดมากกว่าปกติ
ชนิดของโรคจิตเภท
Simple Type
ผู้ป่วยขาดความสัมพันธ์กับ บุคคลภายนอกและสิ่่งแวดล้อมภายนอกโดยสิ้นเชิง
Disorganized Type (Hebephenic)
ผู้ป่วยจะมีอาการประสาทหลอน และความคิดหลงผิด
Catatonic Type
ผู้ป่วยมีอาการสำคัญ คือ มีความผิดปกติที่พฤติกรรมการเคลื่อนไหว
Paranoid Type
ผู็ป่วยจะมีอาการหวาดระแวง หลงผิด มีอาการโกรธง่ายก้าวร้าว ชอบทะเลาะวิวาทกับผู้อื่น
Schizoaffective
มีอาการเฉียบพลัน อาการเข้าได้กับโรคจิตเภท
Undifferentiated Type
ผู้ป่วยประเภทนี้มีอาการของโรคจิตเภทไม่ชัดเจน
Residual Type
ผู้ป่วยโรคจิตเภท ชนิดนี้จะเคยเป็นโรคจิตเภทชนิดใดชนิดหนึ่งมาก่อน
อาการและอาการแสดง
ทฤษฏี
1.อาการด้านบวก (positive symptom)
ประสาทหลอน (hallucination) ที่พบบ่อยคือหูแว่ว เห็นภาพหลอน
อาการหลงผิด(delusion) ได้แก่ หลงผิดว่าตนเองถูกปอง
ความผิดปกติของการพูด (disorganized speech) ผู้ป่วยจะพูดไม่ค่อยเข้าใจเช่น คำพูดไม่ต่อเนื่องกัน
ความผิดปกติของพฤติกรรม (disorganized behavior)
อาการด้านลบ (negative symptom)
อาการผิดปกติที่ขาดหรือบกพร่องไปจากคนทั่วไป
การเปลี่ยนแปลงค้นความคิดการรับรู้ (cognitive change)
ผู้ป่วยจะมีสมาธิแย่ลง มีปัญหาความจำ ตีความไม่ได้ คิดเป็นหตุเป็นผลไม่ได้
การเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์
ผู้ป่วยอาจรู้สึกทุกข์ทรมาน ไม่สบายใจ (dysphoria)
มีภาวะซึมเศร้า (depression) หมดกำลังใจจากอาการของโรคที่เกิดขึ้น
เคส
1.อาการด้านบวก (positive symptom)
หูแว่ว ผู้ป่วยได้ยินเสียงบอกให้กระทำการต่างๆ เช่น บอกให้ห้ามภรรยาตอนที่ภรรยาโทรไปแจ้งโรงพยาบาลในขณะที่ผู้ป่วยมีอาการผิดปกติ
เห็นภาพหลอน ผู้ป่วยมองเห็นผู้ชายสวมหมวกสีดำตาม และเห็นนภาพเพื่อนของเขาและหลานสาวทั้งที่ไม่มีอยู่จริง
หลงผิดคิดว่าตนเองมีอำนาจ มีความสามารถ เป็นบุคคลสำคัญ ผู้ป่วยหลงผิดคิดว่าตนเองเป็นสายลับ
หลงผิดว่าตนเองถูกปองร้ายหรือกลั่นแกล้ง
ไม่สามารถลำดับความคิดตามขั้นตอนได้ผู้ป่วยมีอาการแสดงขณะทำการสอนหนังสือ
2.อาการด้านลบ (negative symptom)
การแสดงออกทางด้านอารมณ์ลดลงมาก เช่น ไม่เเสดงออกทางอารมณ์ สีหน้าเรียบเฉย
การเปลี่ยนแปลงค้นความคิดการรับรู้
ผู้ป่วยมีปัญหาเกี่ยวกับความคิด
ได้แก่
สมาธิแย่ลง
การตีความสิ่งต่างๆบกพร่อง
ผู้ป่วยมีสมาธิลดลงทำให้ไม่สามารถคิดค้นทฤษฎีใหม่ๆได้
การวินิจฉัยตามเกณฑ์ DSM-5
1.ลักษณะอาการอย่างน้อย2อย่าง
disorganized speech
delusion
hallucination
negative symptoms
2.การทำหน้าที่ทางอาชีพและสังคมผิดปกติไป
3.ระยะเวลาของการมีอาการแสดงผิดปกติอย่างน้อย 6 เดือน
ไม่มีอาการหรืออาการแสดงของ schizoaffective หรือ mood disorder
5.ไม่มีสาเหตุมาจากการใช้สารเสพติดหรือยา
การดำเนินโรค
การดำเนินโรคมักไม่เด่นชัดเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไป
แต่ละรายมีการดำเนินโรคที่แตกต่างกันมาก
เมื่อเป็นโรคนี้แล้ว
โอกาสจะหายเป็นปกติมีน้อย
การตรวจสภาพจิต (Mental status examination)
การพูดและกระแสคำพูด (Speech and stream of talk)
ผู้ปป่วยมีการพูดเร็ว รัว
อารมณ์ (Emotion)
มีอารมณ์แปรปวน
การรับรู้(Perception)
เห็นภาพหลอน
ความคิด (Though process)
เชื่อว่ามีคนปองร้ายหรือไม่ประสงค์ดีกับตนเอง persecutory delusions
หวาดระแวง
ความคิดหมกมุ่น Preoccupation คิดแก้โจทย์คณิตศาสตร์ จนการจะถูก
ผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยยา ควรได้รับยาชนิดใด
Thorazine 30 mg IM q 6 hrs
Diazepam 10 mg IM q 4 hrs prn
ข้อวินิจฉัย
1.อาจเกิดอันตรายต่อการทำร้ายตนเองและผู้อื่นเนื่องจากมีความคิดหลงผิด
การพยาบาล
ประเมินความคิดของผู้ป่วยว่ามีผลอย่างไรต่อพฤติกรรมและการกระทาของผู้ป่วย
ต้องยอมรับในความคิดหลงผิดของผู้ป่วย โดยพยาบาลไม่ควรโต้แย้ง หรือท้าทายว่าที่ผู้ป่วยเล่าให้ฟังนั้นไม่จริง และพยาบาลไม่ต้องปฏิบัติตามที่ผู้ป่วยเชื่อ และไม่ควรนำคำพูดของผู้ป่วยไปพูดล้อเล่น
ให้ความสำคัญกับการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดอย่างสม่ำเสมอเพื่อเป็นแนวทางให้ผู้ป่วย ได้พูดถึงความคิดของเขาได้อย่างอิสระ และเพื่อได้รับฟังความคิดของผู้ป่วย
พยาบาลต้องตระหนักว่า ความคิดของผู้ป่วยเป็นความคิดที่ยึดแน่นและผู้ปวยเชื่อว่าเป็นจริงตามนั้น
มีพฤติกรรมแยกตัวจากสังคมเนื่องจาก มีอาการประสาทหลอนและหลงผิด
การพยาบาล
3 .สนใจและให้ความช่วยเหลือ้ป่วยให้ระบายความรู้สึกหรือความวิตกกังวลที่เกิดจากความคิดหลงผิดและประสาทหลอน สนทนากับผู้ป่วยในเรื่องที่เป็นจริง เช่น สถานการณ์หรือสิ่งที่เกิดขึ้นจริง
ประเมินอาการประสาทหลอน เช่นพูดและหัวเราะคนเดียวเงี่ยหูฟัง หยุดพูดกลางคัน รับฟังสิ่งที่ผู้ป่วยเล่าถึงอาการประสาทหลอนโดยไม่โต้แย้งและไม่ขัดจังหวะแต่ควรใช้เทคนิคการตั้งข้อส่งสัยในขณะ สนทนา เช่น “มันเป็นเรื่องเหลือเชื่อนะคะ” เทคนิคการตรวจสอบความเข้าใจและขอความกระจ่าง เพื่อสะท้อนความคิดของผู้ป่วยขณะสนทนา เช่น คุณหมายถึง......ใช่ไหมคะ หรือ ฉันไม่เข้าใจว่ามันหมายถึงอะไรช่วยอธิบายให้ฉันฟังหน่อยได้ไหมคะ เทคนิคดังกล่าวช่วยให้ผู้อื่นทราบว่า คนอื่นมองอย่างไรและการใช้เทคนิคเหล่านี้พยาบาลต้องอยู่บนพื้นฐานยอมรับของผู้ป่วย
ไม่แสดงยอมรับว่าสิ่งที่ผู้ป่วยได้ยินอยู่ในโลกความเป็นจริง โดยใช้คำพูดให้ผู้ป่วยรับรู้ เช่น "เสียงนั่น" แทนคำว่า "เขา" และ "ที่คุณได้ยิน....." หรือ "ภาพที่คุณเห็นเป็น....." ตลอดการสนทนาบอกให้ผู้ป่วยรับทราบว่าพยาบาลรับรู้อย่างไร เช่น "คุณได้ยินเสียงคนพูด แต่ฉันไม่ได้ยินอะไร"
5.ให้ผู้ป่วยได้มีกิจกรรมเข้ากลุ่มบำบัด ลดเวลาการอยู่คนเดียว เพื่อให้ผู้ป่วยได้ทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่น
พยาบาลสร้างสัมพันธภาพแบบ one to one เพื่อให้ผู้ป่วยรู้สึกปลอดภัย และไว้วางใจ จัดเวลาเข้าไปพบและพดูคุยกับผู้ป่วยอย่าง สม่ำเสมอเพราะจะช่วยใหผู้ป่วยรู้สึกว่า ตนเองได้รับการยอมรับและยังเป็นที่ต้องการของผู้อื่น
เมื่อสัมพันธภาพดำเนินมาสักระยะ พยาบาลควรชักชวนผู้ป่วยเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม เพื่อให้ผู้ป่วยได้มีสัมภาพกับผู้อื่น
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้เป็นตัวของตัวเองโดยกระตุ้นให้ผู้ป่วยทำกิจกรรมกับสมาชิกอื่นที่ผู้ป่วยพอใจและพยาบาลควรใหกำลังใจ หรือเสริมแรงเมื่อผู้ป่วยเข้ารวมกิจกรรม
พร่องกิจวัตรประจำวันเนื่องจากการรับรู้บกพร่อง
การพยาบาล
1.กระตุ้น ดูแล ช่วยเหลือผู้ป่วยในการรับทานอาหารและน้ำอย่างเพียงพอและให้ผูป่วยทำกิจวัตรประจำวัน เช่น อาบน้ำ แปรงฟัน
2.ส่งเสริมให้ผู้ป่วยทำกิจวัตรประจำวันด้วยตนเองและคอยช่วยเหลือในสิ่งที่ผู้ป่วยไม่สามารถทำได้
บันทึกการรับประทานอาหารและน้าชั่งน้าหนักทุกสัปดาห์เพื่อประเมินภาวะโภชนาการ
ครอบครัวมีโอกาสเสียสมดุลเนื่องจากสมาชิกบกพร่องในการทำหน้าที
การพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพกับครอบครัวของผู้ป่วย พร้อมกับประเมินสภาพทั่วไปของ ครอบครัว เช่น บทบาทของสมาชิกแต่ละคน วิธีการสื่อสารต่อกัน ระดับของสัมพันธภาพ ความใส่ใจต่อการเจ็บป่วยของผู้ป่วย
ประเมินและให้ความรู้คนในครอบครัวในการดูแลและยอมรับในโรคที่ผู้ป่วยเป็น
ฝึกทักษะการเผชิญปัญหาให้คำเเนะนำและช่วยแก้ปัญหาเมื่อครอบครัวเผชิญภาวะวิกฤตต่างๆ เนื่องมาจากการป่วยทางจิตเวช
ติดตามสังเกตอาการกำเริบและช่วยดูแล ต่อเนื่อง เชื่อมโยงกับครอบครัวและผู้ป่วยเพื่อลดพฤติกรรมที่เสี่ยงต่ออาการกำเริบประสานการส่งต่อรวมถึงสนับสนุนให้ กำลังใจผู้ป่วยและญาติในการฟื้นฟูการใช้ชีวิต
5.ให้ผู้ดูแลสาธิตย้อนกลับการดูแลผู้ป่วยเพื่อให้เกิดความเข้าใจของขั้นตอนการดูเเลผู้ป่วย
การรักษา
การรักษาทางกาย ( somatic treatment)
การใช้ยา antipsychotic ทาให้อาการโรคจิตดีขึ้น แต่ไม่ได้ทาให้จิตเภทหาย ผู้ป่วยต้องรับการรักษานาน โดยมีหลักการคือ รักษาอาการเฉียบพลัน และให้ยาระยะยาวเพื่อป้องกันการกลับเป็นซ้า การรักษาด้วยการทาให้ชักด้วยไฟฟ้า ( ECT) วิธีนี้ได้ผลสู้ยาต้านโรคจิตไม่ได้ แต่จะใช้ได้ผลดีมากสาหรับจิตเภทชนิด catatonia
การรักษาทางจิต
จิตบาบัดรายบุคคล (Individual psychotherapy)
สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วยจะช่วยให้ผู้ป่วยรู้สึกปลอดภัย เกิดความไว้วางใจในตัวผู้บาบัด และการที่ผู้บาบัดได้รับรู้ข้อมูลสภาพปัญหาของผู้ป่วย และเกิดความเข้าใจ สามารถวางแผนการบาบัดได้อย่างเหมาะสม
พฤติกรรมบำบัด (Behavior therapy)
มุ่งเน้นในการพัฒนาความสามารถและแก้ไขความบกพร่องของผู้ป่วยโดยให้ผู้ป่วยเข้าใจธรรมชาติของโรค ทราบถึงปัจจัยที่กระตุ้นให้เกิดการกาเริบของโรค เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการรักษารวมทั้งให้ผู้ป่วยได้เรียนรู้ทักษะในการจัดการความเครียดจากสิ่งกระตุ้น
กลุ่มบำบัด (Group therapy)
เป็นการจัดกิจกรรมกลุ่ม เพื่อให้เกิดการเรียนรู้จากการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ของสมาชิกในกลุ่ม การเรียนรู้ที่เกิดขึ้น จะช่วยให้ผู้ป่วยเกิดการพัฒนาทักษะทางสังคม การสร้างสัมพันธภาพผู้อื่น
ครอบครัวบำบัด (Family therapy)
การให้การแนะนำปรึกษาแก่ครอบครัว จะลดความตึงเครียดภายในครอบครัว ทำให้การกลับเป็นซ้าของผู้ป่วยลดลง โดยส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการให้ความรู้เกี่ยวกับโรคจิตเภทร่วมกับการแนะนาในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในการอยู่ร่วมกับผู้ป่วย ลดความรู้สึกโกรธ หรือโทษตัวเองของครอบครัว
นางสาวอัญชนา พรหมจันทร์ เลขที่ 95
รหัสนักศึกษา 613601101