Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวางแผนการพยาบาล (Planning) - Coggle Diagram
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
ปัญหาที่ 1
(แบบแผนที่ 10 การปรับตัวและความทนทานกับความเครียด)
ข้อวินิจฉัย
เสี่ยงต่อการเกิดความดันโลหิตเพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากมีความเครียด
จุดมุ่งหมายการพยาบาล
เพื่อป้องกันการเกิดภาวะความดันโลหิตเพิ่มสูงขึ้น
กิจกรรมการพยาบาล
การสาธิตการฝึกเกร็งและคลายกล้ามเนื้อเพื่อใช้ลดความเครียด
การสาธิตวิธีการกดนวดจุดต่างๆที่มักมีอาการปวดเกร็ง เมื่อเกิดความเครียด
การให้ความรู้เกี่ยวกับสาเหตุที่ความเครียดมีผลให้ความดันโลหิตเพิ่มสูงขึ้น
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยทราบว่าความเครียดเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะความดันโลหิตเพิ่มสูงกว่าปกติได้
สามารถจัดการความเครียดได้ด้วยตนเอง มีสีหน้าสดชื่นแจ่มใส อารมณ์ดี ไม่ขมวดคิ้ว หรือหายใจแรงและถอนหายใจ
ปัญหาที่ 2
(แบบแผนที่ 1 การรับรู้และการดูแลสุขภาพ)
ข้อวินิจฉัย
อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากพร่องความรู้ในการดูแลตนเองเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยทราบและบอกได้ว่าอาการแทรกซ้อนที่เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตและเบาหวานมีอะไรบ้าง
ผู้ป่วยสามารถบอกวิธีการดูแลตนเองเกี่ยวกับโรคที่เป็นได้อย่างครบถ้วนและถูกต้อง
มีอาการชาปลายมือไม่เกิน 3 ครั้งต่อวัน
กิจกรรมการพยาบาล
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับวิธีการดูแลตนเอง
ให้ความรู้ในสังเกตุอาการแสดงหรือภาวะที่บ่งชี้ว่าร่างกายผิดปกติเนื่องจากภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
จุดมุ่งหมายการพยาบาล
ไม่เกิดโรคแทรกซ้อน
ปัญหาที่ 3
(แบบแผนที่ 5 การนอนหลับพักผ่อน)
นอนหลับไม่สนิทเนื่องจากจิตใจเป็นกังวล
เกณฑ์การประเมินผล
ไม่มีอาการอิดโรยระหว่างวัน หรือแสดงสีหน้าอ่อนเพลีย ซึม เป็นต้น
ผู้ป่วยสามารถนอนหลับได้สนิทโดยไม่มีการตื่นระหว่างการนอนที่นอกเหนือจากการตื่นไปปัสสาวะอย่างน้อย 5-7 ชั่วโมง
กิจกรรมการพยาบาล
สังเกตุสีหน้าว่ามีอาการอิดโรย ง่วงซึม หรือสีหน้าไม่สดชื่นระหว่างวันหรือไม่
3.แนะนำการจัดสิ่งแวดให้เหมาะแก่การนอนหลับ
แนะนำให้ดื่มชาคาร์โมมายล์ก่อนนอน สารอะพิจีนีนในคาโมมายล์มีฤทธิ์ช่วยให้รู้สึกสงบ คลายความกังวล และช่วยให้หลับสนิท
จุดมุ่งหมายการพยาบาล
นอนหลับได้สนิท
ปัญหาที่ 4
(แบบแผนที่ 4 กิจกรรมและการออกกำลังกาย)
ข้อวินิจฉัย
พร่องความสามารถในการใช้งานแขนข้างขวาเนื่องจากหัวไหล่ด้านขวามีอาการเจ็บและหมุนได้ไม่สุด
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยบอกว่ารู้สึกว่าหมุนหัวไหล่ได้มากกว่าเดิม
ระดับตัวเลขที่แสดงถึงอาการเจ็บจากการซักถามผู้ป่วยลดลดลงจากเดิม
กิจกรรมการพยาบาล
1.ทำการประเมินความปวดด้วยมาตรวัด ความปวดแบบตัวเลข (numerical rating scale: NRS) โดยแบ่งระดับความรุนแรงของความปวด
ไม่ปวดถึงปวดเล็กน้อย (absent to minimal) = 0–3 คะแนน
ปวดปานกลาง (moderate) = 4–7 คะแนน
ปวดมากถึงมากที่สุด (severe) = 8–10 คะแนน
สาธิตท่าที่ใช้ในการบริหารการเคลื่อนไหวของข้อและกล้ามเนื้อบริเวณหัวใหล่ให้กับผู้ป่วยนำไปปรับใช้
จุดมุ่งหมายการพยาบาล
อาการเจ็บที่หัวไหล่ขวาลดลง